ครั้งนั้นแล วชิราภิกษุณีทราบว่า “นี่คือมารผู้มีบาป” จึงได้กล่าวกับมาร ผู้มีบาปด้วยคาถาว่า
มารเอ๋ย ทิฏฐิของเจ้าเชื่อว่าอะไรเป็นสัตว์
กองแห่งสังขารล้วน ๆ นี้
บัณฑิตจะเรียกว่าสัตว์ไม่ได้เลย
เมื่อขันธ์ทั้งหลายมีอยู่ การสมมติว่าสัตว์ก็มีได้
เหมือนคำว่ารถมีได้เพราะประกอบส่วนต่าง ๆ เข้าด้วยกัน
อนึ่ง ทุกข์เท่านั้นเกิดขึ้น
ทุกข์เท่านั้นดำรงอยู่และแปรผันไป
นอกจากทุกข์ ไม่มีสิ่งอื่นเกิดขึ้น
นอกจากทุกข์ ไม่มีอะไรอื่นดับไป
ลำดับนั้น มารผู้มีบาปเป็นทุกข์เสียใจว่า “วชิราภิกษุณีรู้จักเรา” จึงหายตัวไป ณ ที่นั้นเอง
มุขเดียวกันกับพระนาคเสนตอบ พระเจ้ามิลินท์ เปรียบชีวิตคนเราเป็นเพียงส่วนประกอบของรถ (ขันธ์ห้า) โดยคิดว่าจะหลบเลี่ยงเรื่องที่ว่าด้วยอ
อาตมัน
ที่ไหนได้ เจอนักปรัชญาสวนเอาว่า
ถ้ารถวิ่งไปทับคนตาย แบบนี้รถไม่บาปใช่ไหม
ขันธ์ห้านี้ไปฆ่าใครก็ได้ ไปข่มขืนใครก็ได้
สบายละทีนี้
นี่แหละ...คือ ผลของการคิดเกินกว่าพุทธพจน์ คิดอุปมาขึ้นใช้เอง โดยพลการ
นักปรัชญา ย้อนศร วชิราภิกษุณี และพระนาคเสน อย่าอุปมาเองโดยไม่อิงพุทธพจน์
มารเอ๋ย ทิฏฐิของเจ้าเชื่อว่าอะไรเป็นสัตว์
กองแห่งสังขารล้วน ๆ นี้
บัณฑิตจะเรียกว่าสัตว์ไม่ได้เลย
เมื่อขันธ์ทั้งหลายมีอยู่ การสมมติว่าสัตว์ก็มีได้
เหมือนคำว่ารถมีได้เพราะประกอบส่วนต่าง ๆ เข้าด้วยกัน
อนึ่ง ทุกข์เท่านั้นเกิดขึ้น
ทุกข์เท่านั้นดำรงอยู่และแปรผันไป
นอกจากทุกข์ ไม่มีสิ่งอื่นเกิดขึ้น
นอกจากทุกข์ ไม่มีอะไรอื่นดับไป
ลำดับนั้น มารผู้มีบาปเป็นทุกข์เสียใจว่า “วชิราภิกษุณีรู้จักเรา” จึงหายตัวไป ณ ที่นั้นเอง
มุขเดียวกันกับพระนาคเสนตอบ พระเจ้ามิลินท์ เปรียบชีวิตคนเราเป็นเพียงส่วนประกอบของรถ (ขันธ์ห้า) โดยคิดว่าจะหลบเลี่ยงเรื่องที่ว่าด้วยออาตมัน
ที่ไหนได้ เจอนักปรัชญาสวนเอาว่า
ถ้ารถวิ่งไปทับคนตาย แบบนี้รถไม่บาปใช่ไหม
ขันธ์ห้านี้ไปฆ่าใครก็ได้ ไปข่มขืนใครก็ได้
สบายละทีนี้
นี่แหละ...คือ ผลของการคิดเกินกว่าพุทธพจน์ คิดอุปมาขึ้นใช้เอง โดยพลการ