การปล่อยสัตว์ต่างๆ มีกรณีเดียวที่ได้บุญ คือปล่อยสัตว์ที่ไปเจอกลางทางหรือหลงเข้ามาในที่อยู่ของเรา ซึ่งสัตว์นี้ช่วยตัวเองให้กลับสู่ถิ่นหากินของตัวเองไม่ได้ หรือเจอลูกสัตว์กำพร้า,สัตว์บาดเจ็บแล้วเราช่วยอนุบาล,บริบาลที่พอจะทำได้
ถ้าไม่ใช่กรณีที่กล่าวมานี้นอกนั้นบาปหมด เช่นการขอเงินให้เงินเพื่อปล่อยนก ปล่อยสัตว์ต่างๆ ไถ่ชีวิตวัวควาย * เหล่านี้บาปหมด *
เพราะทำให้เกิดการจับสัตว์มาขังหรือเพาะะพันธุ์ขึ้นอย่างเกินควร เกิดการจับสัตว์,ปล่อยสัตว์แบบไม่คำนึงถึงสมดุลย์นิเวศน์ เกิดการเวียนสัตว์มาให้ปล่อยหรือไถ่ซ้ำๆเพื่อโกยทรัพย์
ต่อให้เราจะไปจู่โจมขอไถ่วัวควายที่หน้าโรงฆ่าเลย โรงฆ่าก็อาจสั่งวัวควายมาฆ่าเพิ่มทดแทนได้ ต่อให้วัวควายทุกตัวที่ได้รับการไถ่ชีวิตเหล่านี้ได้รับการการเลี้ยงดูอย่างดีจนสิ้นอายุขัยไปทุกตัว ( ซึ่งความจริงย่อมไม่เป็นอย่างนั้น อาจมีบางรายเลี้ยงแบบบกพร่องหรือแอบขายทิ้งในภายหลังหรือนำมาหลอกให้คนไถ่ซ้ำๆ ฯลฯ. ) ** วัวควายเป็นสัตว์ที่อายุยาวกินมากและปล่อยก๊าซเรือนกระจกมาก การเลี้ยงเปล่าๆตามกระแสไถ่ชีวิตแบบนี้ย่อมเกิดโทษมากกว่าประโยชน์ครับ ก๊าซเรือนกระจกมาบั่นทำร้ายมนุษยชาติอย่างมากในยุคนี้ กระแสไถ่ชีวิตวัวควายจึงบาปหนาหนักมาก **
ถ้ามีผู้แย้งว่า " แล้วการฆ่ากินไม่บาปกว่าหรือ ". ในพระวินัยปิฏกบัญญัติว่า ภิกษุแกล้งสัตว์ให้ตายลง หรือใช้น้ำที่เห็นว่ามีตัวสัตว์อยู่แต่ด้วยชังเกลียดสัตว์นี้จึงไม่คิดกรองเอาออกไป แต่ใช้น้ำนี้มาบ้วนปาก,ล้างหน้า,รดดินรดต้นไม้ . จะต้องอาบัติปาจิตตีย์ ( โทษเบาๆ ) ปรับอาบัติเพียงแค่ให้บอกกล่าวอาบัตินี้แก่ภิกษุด้วยกันก็ถือว่าปลงอาบัติแล้ว
( ข้อที่ห้ามฆ่าสัตว์ต่างๆที่อยู่ในน้ำใช้นี้ อาจบ่งว่าเป็นพวกสัตว์ตัวเล็กๆ แต่ข้อที่ห้ามฆ่าสัตว์แกล้งสัตว์นี้ จะไม่เจาะจงว่าเป็นสัตว์เล็กหรือสัตว์ใหญ่
และ 2 - 3 ข้อห้ามนี้อยู่ต่างสิกขาบทกัน )
ซึ่งนี่เป็นเพียงโทษของการฆ่าสัตว์เพราะไปเกลียดไปแกล้งสัตว์หรือประมาทเท่านั้น * ดังนั้นอันประชาชนทั่วไปที่ฆ่าสัตว์สำหรับมาอุปโภคบริโภคปกติทั่วไปนี้จึงอาจไม่จัดว่าบาปเลยตามนัยยะบัญญัตินี้ เพราะว่าสิ่งมีชีวิตต่างๆที่ฆ่าสิ่งมีชีวิตด้วยกันเพื่อมาอุปโภคบริโภคทั่วไปนี้ไม่ใช่ความเกลียดต่อเหยื่อ แต่เป็นความเฉยๆ,ไม่ผูกพันธ์ เท่านั้นครับ
ในเมื่อการฆ๋าสัตว์ด้วยจิตพยาบาทเกลียดนี้ยังมีโทษเพียงเบาๆ จึงไม่ต้องกล่าวกังวลถึงการฆ่าสัตว์เพื่อมาอุปโภคบริโภคทั่วไปด้วยจิตเฉย,ไม่ผูกพันธ์อันเนื่องด้วยความจำเป็นต่อการดำเนินชีวิตให้ปกตินี้ ไปจนถึงการมุ่งมรรคผลนิพพานอันต้องใช้ปัญญาขั้นอุดมที่ได้จากการกินเนื้อสัตว์และพืชที่ถูกสุขอนามัย *
( การบัญญัติแบบนี้ขององค์พระพุทธเจ้า จัดว่าเป็นวิทยาศาตร์อย่างยิ่งเพราะไม่หักดิบต่อวิวัฒนาการของมนุษย์เรา เนื่องจากสายพันธุ์มนุษย์เรามีวิวัฒนาการที่กินทั้งเนื้อทั้งพืชมาอย่างค่อนข้างต่อเนื่องเป็นเวลาหลายล้านปีมาแล้ว การเปลี่ยนมากินมังสวิรัติทันทีตลอดไปจะเป็นการ " หักดิบทางวิวัฒนาการ " สามารถทำให้พันธุกรรมและไอคิว Drop ลงไปได้ )
แม้พุทธไม่ถึงกับห้ามการกินมังสวิรัติแต่ก็ไม่ส่งเสริมให้กิน กินเนื้อสัตว์ได้แต่ห้ามกินเนื้อสัตว์ป่าหลายชนิด ( การกินสัตว์ป่าบางกลุ่มอาจมีผลต่อระบบนิเวศน์ได้และอาจติดโรคแพร่โรคร้ายได้ จะเห็นว่าพระพุทธเจ้าทรงบัญญัติเป็นวิทยาศาสตร์อีกแล้วครับในเรื่องนี้ )
อีกทั้ง แม้เราเจอสัตว์หลงสัตว์อ่อนแอ แล้วเราเฉยๆไม่ได้ไปช่วยอะไร ก็ไม่ได้บาปเลยครับ
มรรค มีองค์ ๘ องค์ทั้ง ๘ ข้อนี้หมายถึง การดำเนินชีวิตประจำวันต่างๆให้อยู่ใน " ไตรสิกขา " ( ศีล สมาธิ ปัญญา )
ศีล สมาธิ ปัญญา จึงเป็นแก่นหลักคำสอนสูงสุดของพระพุทธเจ้า จะเห็นว่าแก่นนี้ ไม่มีคำว่า ทาน กับ ภาวนา
นั่นก็เพราะ ทานและภาวนาเป็นเพียงข้อปลีกย่อยที่อยู่ในหมวด ศีล สมาธิเท่านั้น
ดังนั้น พวกคำสอนบุญกิริยาวัตถุ ๑๐ กับคำสอนว่า " ทาน ศีล ภาวนา " นี้เป็นการเอา ข้อย่อย มานำหน้าข้อหลักสูงสุด ของพระพุทธเจ้า
** นี่จึงไม่ใช่พุทธพจน์พุทธบัญญัติ ** แต่เป็นอวิชชางอกมาจากคนหรือสาวกพร่องปัญญาหรือและเห็นแก่ลาภอามิส อุตริเอาคำว่า
" ทาน " มานำหน้า " ศีล " ปรากฏเข้ามาในศาสนาพุทธ คนผู้นี้และหมู่คนที่เชื่อตามแล้วบอกต่อสอนตาม คนเหล่านี้บาปหนักหนาทั้งหมดจากการทำให้แก่นคำสอนสูงสุดบิดเบือนไป .
{ แม้แต่การแสดงธรรม( ธรรมทาน ) ของพระภิกษุ พระพุทธองค์ก็ยังทรงบัญญัตฺิให้แสดงได้แค่ตามสมควร }
การขอเงินให้เงิน เพื่อปล่อยสัตว์ ไถ่ชีวิตสัตว์นี้คือบาป พระหรือวัดที่สนับสนุน ผู้โพสต์ผู้แชร์เชิญชวน บาปทั้งหมด
ถ้าไม่ใช่กรณีที่กล่าวมานี้นอกนั้นบาปหมด เช่นการขอเงินให้เงินเพื่อปล่อยนก ปล่อยสัตว์ต่างๆ ไถ่ชีวิตวัวควาย * เหล่านี้บาปหมด *
เพราะทำให้เกิดการจับสัตว์มาขังหรือเพาะะพันธุ์ขึ้นอย่างเกินควร เกิดการจับสัตว์,ปล่อยสัตว์แบบไม่คำนึงถึงสมดุลย์นิเวศน์ เกิดการเวียนสัตว์มาให้ปล่อยหรือไถ่ซ้ำๆเพื่อโกยทรัพย์
ต่อให้เราจะไปจู่โจมขอไถ่วัวควายที่หน้าโรงฆ่าเลย โรงฆ่าก็อาจสั่งวัวควายมาฆ่าเพิ่มทดแทนได้ ต่อให้วัวควายทุกตัวที่ได้รับการไถ่ชีวิตเหล่านี้ได้รับการการเลี้ยงดูอย่างดีจนสิ้นอายุขัยไปทุกตัว ( ซึ่งความจริงย่อมไม่เป็นอย่างนั้น อาจมีบางรายเลี้ยงแบบบกพร่องหรือแอบขายทิ้งในภายหลังหรือนำมาหลอกให้คนไถ่ซ้ำๆ ฯลฯ. ) ** วัวควายเป็นสัตว์ที่อายุยาวกินมากและปล่อยก๊าซเรือนกระจกมาก การเลี้ยงเปล่าๆตามกระแสไถ่ชีวิตแบบนี้ย่อมเกิดโทษมากกว่าประโยชน์ครับ ก๊าซเรือนกระจกมาบั่นทำร้ายมนุษยชาติอย่างมากในยุคนี้ กระแสไถ่ชีวิตวัวควายจึงบาปหนาหนักมาก **
ถ้ามีผู้แย้งว่า " แล้วการฆ่ากินไม่บาปกว่าหรือ ". ในพระวินัยปิฏกบัญญัติว่า ภิกษุแกล้งสัตว์ให้ตายลง หรือใช้น้ำที่เห็นว่ามีตัวสัตว์อยู่แต่ด้วยชังเกลียดสัตว์นี้จึงไม่คิดกรองเอาออกไป แต่ใช้น้ำนี้มาบ้วนปาก,ล้างหน้า,รดดินรดต้นไม้ . จะต้องอาบัติปาจิตตีย์ ( โทษเบาๆ ) ปรับอาบัติเพียงแค่ให้บอกกล่าวอาบัตินี้แก่ภิกษุด้วยกันก็ถือว่าปลงอาบัติแล้ว
( ข้อที่ห้ามฆ่าสัตว์ต่างๆที่อยู่ในน้ำใช้นี้ อาจบ่งว่าเป็นพวกสัตว์ตัวเล็กๆ แต่ข้อที่ห้ามฆ่าสัตว์แกล้งสัตว์นี้ จะไม่เจาะจงว่าเป็นสัตว์เล็กหรือสัตว์ใหญ่
และ 2 - 3 ข้อห้ามนี้อยู่ต่างสิกขาบทกัน )
ซึ่งนี่เป็นเพียงโทษของการฆ่าสัตว์เพราะไปเกลียดไปแกล้งสัตว์หรือประมาทเท่านั้น * ดังนั้นอันประชาชนทั่วไปที่ฆ่าสัตว์สำหรับมาอุปโภคบริโภคปกติทั่วไปนี้จึงอาจไม่จัดว่าบาปเลยตามนัยยะบัญญัตินี้ เพราะว่าสิ่งมีชีวิตต่างๆที่ฆ่าสิ่งมีชีวิตด้วยกันเพื่อมาอุปโภคบริโภคทั่วไปนี้ไม่ใช่ความเกลียดต่อเหยื่อ แต่เป็นความเฉยๆ,ไม่ผูกพันธ์ เท่านั้นครับ
ในเมื่อการฆ๋าสัตว์ด้วยจิตพยาบาทเกลียดนี้ยังมีโทษเพียงเบาๆ จึงไม่ต้องกล่าวกังวลถึงการฆ่าสัตว์เพื่อมาอุปโภคบริโภคทั่วไปด้วยจิตเฉย,ไม่ผูกพันธ์อันเนื่องด้วยความจำเป็นต่อการดำเนินชีวิตให้ปกตินี้ ไปจนถึงการมุ่งมรรคผลนิพพานอันต้องใช้ปัญญาขั้นอุดมที่ได้จากการกินเนื้อสัตว์และพืชที่ถูกสุขอนามัย *
( การบัญญัติแบบนี้ขององค์พระพุทธเจ้า จัดว่าเป็นวิทยาศาตร์อย่างยิ่งเพราะไม่หักดิบต่อวิวัฒนาการของมนุษย์เรา เนื่องจากสายพันธุ์มนุษย์เรามีวิวัฒนาการที่กินทั้งเนื้อทั้งพืชมาอย่างค่อนข้างต่อเนื่องเป็นเวลาหลายล้านปีมาแล้ว การเปลี่ยนมากินมังสวิรัติทันทีตลอดไปจะเป็นการ " หักดิบทางวิวัฒนาการ " สามารถทำให้พันธุกรรมและไอคิว Drop ลงไปได้ )
แม้พุทธไม่ถึงกับห้ามการกินมังสวิรัติแต่ก็ไม่ส่งเสริมให้กิน กินเนื้อสัตว์ได้แต่ห้ามกินเนื้อสัตว์ป่าหลายชนิด ( การกินสัตว์ป่าบางกลุ่มอาจมีผลต่อระบบนิเวศน์ได้และอาจติดโรคแพร่โรคร้ายได้ จะเห็นว่าพระพุทธเจ้าทรงบัญญัติเป็นวิทยาศาสตร์อีกแล้วครับในเรื่องนี้ )
อีกทั้ง แม้เราเจอสัตว์หลงสัตว์อ่อนแอ แล้วเราเฉยๆไม่ได้ไปช่วยอะไร ก็ไม่ได้บาปเลยครับ
มรรค มีองค์ ๘ องค์ทั้ง ๘ ข้อนี้หมายถึง การดำเนินชีวิตประจำวันต่างๆให้อยู่ใน " ไตรสิกขา " ( ศีล สมาธิ ปัญญา )
ศีล สมาธิ ปัญญา จึงเป็นแก่นหลักคำสอนสูงสุดของพระพุทธเจ้า จะเห็นว่าแก่นนี้ ไม่มีคำว่า ทาน กับ ภาวนา
นั่นก็เพราะ ทานและภาวนาเป็นเพียงข้อปลีกย่อยที่อยู่ในหมวด ศีล สมาธิเท่านั้น
ดังนั้น พวกคำสอนบุญกิริยาวัตถุ ๑๐ กับคำสอนว่า " ทาน ศีล ภาวนา " นี้เป็นการเอา ข้อย่อย มานำหน้าข้อหลักสูงสุด ของพระพุทธเจ้า
** นี่จึงไม่ใช่พุทธพจน์พุทธบัญญัติ ** แต่เป็นอวิชชางอกมาจากคนหรือสาวกพร่องปัญญาหรือและเห็นแก่ลาภอามิส อุตริเอาคำว่า
" ทาน " มานำหน้า " ศีล " ปรากฏเข้ามาในศาสนาพุทธ คนผู้นี้และหมู่คนที่เชื่อตามแล้วบอกต่อสอนตาม คนเหล่านี้บาปหนักหนาทั้งหมดจากการทำให้แก่นคำสอนสูงสุดบิดเบือนไป .
{ แม้แต่การแสดงธรรม( ธรรมทาน ) ของพระภิกษุ พระพุทธองค์ก็ยังทรงบัญญัตฺิให้แสดงได้แค่ตามสมควร }