เมื่อได้ศึกษาชาร์ต ราชสกุลจุฑาเทพและเทวพรหม ทำให้เรานึกถึงประวัติศาสตร์ที่พัฒนามาคู่ขนานกัน
นั่นคือ กลุ่มทุนใหญ่ในภาคธุรกิจไทย หลายสายตระกูลมีความเชื่อมโยงกัน ในลักษณะเครือญาติกัน
แล้วแตกออกเป็นสายธุรกิจ และแต่และตระกูล มีบุคลากรสำคัญทางธุรกิจอยู่ในปัจจุบันมากมาย
ซึ่งไม่ใช่ว่าเป็นการนำเรื่องจริงมาเขียน แต่ละครอาจถ่ายทอดบทบาททางเศรษฐกิจ โดยปรุงแต่งให้เกิดอรรถรส คิดดูว่า
สมัยก่อน การนำเข้ารถยนต์ การสร้างห้างสรรพสินค้า การนำเข้าทีวี จักรเย็บผ้า ย่อมกินเรียบทั้งตลาด นั่นคือ คนทั้งประเทศ
เพราะสมัยนั้น น้อยคนจะกล้าทำธุรกิจใหญ่ หรือ ธุรกิจที่แปลกใหม่ น่าสนใจว่า พวกเขาอยู่ในฐานะใด มีปัจจัยใดที่ส่งเสริม
ความกล้าลงทุน เช่น การนำเข้าเครื่องไฟฟ้าจากญี่ปุ่น ต้องพูดญี่ปุ่นได้ หรือ มีเพื่อน/เจ้านาย เป็นคนญี่ปุ่น
หรือ ต้องคบค้าทหารญี่ปุ่นหรือเปล่า?
น่าจะดัดแปลงออกมาเป็นละคร ค่ะ ที่สำคัญ ตระกูลใหญ่ๆ ก็มักจะสัมพันธ์เกี่ยวดองกันในรูปแบบแต่งงาน
แต่ขีดเส้นใต้ก่อนนะคะ ว่า ไม่สนับสนุนให้ทำละครจากประวัติศาสตร์เศรษฐกิจที่มีตัวบุคคลจริง
ลองใช้ประวัติศาสตร์ธุรกิจเป็นวัตถุดิบในการเขียน ผสมผสานการถ่ายทอดความเป็นมนุษย์
เล่ห์เหลี่ยมทางธุรกิจ ความใจกว้าง เอื้อเฟื้อ และมัธยัสต์ในบางเรื่อง การปกครองทีมงาน
แล้วปรุงแต่งเป็นละครค่ะ ซึ่งไม่ต้องถึงกับเป็นละครชีวิต
แต่เป็นละครรักโรแมนติก ที่เราเอาใจช่วยพระเอก นางเอก ฝ่าฟันอุปสรรคจนธุรกิจรุ่งเรืองได้
ปล ดูง่ายๆ นะคะ นางเอกไทยหลายคน เมื่อแต่งงานเข้าสู่ตระกูลใหญ่ พวกเขาก็กลายเป็นเครือญาติกัน
ชนชั้นสูงมีความสัมพันธ์กัน ทั้งในแง่คอนเน็คชั่นและการแต่งงาน รวมถึงการหากลุ่มคนที่ช่วยสนับสนุน
ให้ธุรกิจเจริญก้าวหน้า เช่น พนักงานที่ฉลาด เก่ง บุคคลที่มีอำนาจด้านการเมืองการปกครอง ความมั่นคง ความปลอดภัย
และคนที่มีชื่อเสียงในสังคม เช่น วงการบันเทิง เป็นต้น ความรักและการเติบโตทางธุรกิจส่งเสริมซึ่งกันและกัน
เสนอแนะทำละครต่อจากจักรวาลเทวพรหม
นั่นคือ กลุ่มทุนใหญ่ในภาคธุรกิจไทย หลายสายตระกูลมีความเชื่อมโยงกัน ในลักษณะเครือญาติกัน
แล้วแตกออกเป็นสายธุรกิจ และแต่และตระกูล มีบุคลากรสำคัญทางธุรกิจอยู่ในปัจจุบันมากมาย
ซึ่งไม่ใช่ว่าเป็นการนำเรื่องจริงมาเขียน แต่ละครอาจถ่ายทอดบทบาททางเศรษฐกิจ โดยปรุงแต่งให้เกิดอรรถรส คิดดูว่า
สมัยก่อน การนำเข้ารถยนต์ การสร้างห้างสรรพสินค้า การนำเข้าทีวี จักรเย็บผ้า ย่อมกินเรียบทั้งตลาด นั่นคือ คนทั้งประเทศ
เพราะสมัยนั้น น้อยคนจะกล้าทำธุรกิจใหญ่ หรือ ธุรกิจที่แปลกใหม่ น่าสนใจว่า พวกเขาอยู่ในฐานะใด มีปัจจัยใดที่ส่งเสริม
ความกล้าลงทุน เช่น การนำเข้าเครื่องไฟฟ้าจากญี่ปุ่น ต้องพูดญี่ปุ่นได้ หรือ มีเพื่อน/เจ้านาย เป็นคนญี่ปุ่น
หรือ ต้องคบค้าทหารญี่ปุ่นหรือเปล่า?
น่าจะดัดแปลงออกมาเป็นละคร ค่ะ ที่สำคัญ ตระกูลใหญ่ๆ ก็มักจะสัมพันธ์เกี่ยวดองกันในรูปแบบแต่งงาน
แต่ขีดเส้นใต้ก่อนนะคะ ว่า ไม่สนับสนุนให้ทำละครจากประวัติศาสตร์เศรษฐกิจที่มีตัวบุคคลจริง
ลองใช้ประวัติศาสตร์ธุรกิจเป็นวัตถุดิบในการเขียน ผสมผสานการถ่ายทอดความเป็นมนุษย์
เล่ห์เหลี่ยมทางธุรกิจ ความใจกว้าง เอื้อเฟื้อ และมัธยัสต์ในบางเรื่อง การปกครองทีมงาน
แล้วปรุงแต่งเป็นละครค่ะ ซึ่งไม่ต้องถึงกับเป็นละครชีวิต
แต่เป็นละครรักโรแมนติก ที่เราเอาใจช่วยพระเอก นางเอก ฝ่าฟันอุปสรรคจนธุรกิจรุ่งเรืองได้
ปล ดูง่ายๆ นะคะ นางเอกไทยหลายคน เมื่อแต่งงานเข้าสู่ตระกูลใหญ่ พวกเขาก็กลายเป็นเครือญาติกัน
ชนชั้นสูงมีความสัมพันธ์กัน ทั้งในแง่คอนเน็คชั่นและการแต่งงาน รวมถึงการหากลุ่มคนที่ช่วยสนับสนุน
ให้ธุรกิจเจริญก้าวหน้า เช่น พนักงานที่ฉลาด เก่ง บุคคลที่มีอำนาจด้านการเมืองการปกครอง ความมั่นคง ความปลอดภัย
และคนที่มีชื่อเสียงในสังคม เช่น วงการบันเทิง เป็นต้น ความรักและการเติบโตทางธุรกิจส่งเสริมซึ่งกันและกัน