#สอบถามค่ะ
(เราจะต่อ ม. 39 หลังจากที่ได้ยื่นค่าคลอดบุตรในสิทธิ ม.33)
——————////————————————
เราลาออกจากงานวันที่ 21 กันยายน ส่งเงินสมทบปกส.ม.33เดือนสุดท้าย(กันยายน)
สิทธิคุ้มครอง ม.33 ถึง 6 เดือน
อยากรุ้ว่านับยังไงค่ะ 6 เดือน นับตั้งแต่วันที่ลาออกจากงานหรือนับตั้งแต่วันที่ถุกหักเงินสมทบปกส.เดือนสุดท้าย
แล้วนับเดือนถัดไป!!
ถ้านับเป็นเดือน เราคลอดบุตรเดือนมีนาเป็นเดือนที่ 6 พอดี เราคลอดกำหนดคลอด28มีนา เรายื่นเรื่องค่าคลอดบุตรวันนั่นเลยได้ไหมค่ะ แล้ววันต่อมาก็ยื่นต่อม.39 แบบนี่ได้ไหม
( ระหว่างนี่มันจะอยุ่สิทธิกึ่งกลางม.33-ม.39 )
เหตุผลที่อยากยื่นหลังจากเบิกค่าคลอด(ม.33)เพราะกลัวได้เงินชดเชยหยุดงานปกส.น้อยค่ะ
(อยากได้เงินชดเชยสิทธิม.33)
#แบบนี่จะเสียสิทธิไหมค่ะหรือยื่นม.39เลย
ลาออกจากงานมา สิทธิคุ้มครองถึง 6 เดือน แต่ยังไม่ได้ต่อม.39
(เราจะต่อ ม. 39 หลังจากที่ได้ยื่นค่าคลอดบุตรในสิทธิ ม.33)
——————////————————————
เราลาออกจากงานวันที่ 21 กันยายน ส่งเงินสมทบปกส.ม.33เดือนสุดท้าย(กันยายน)
สิทธิคุ้มครอง ม.33 ถึง 6 เดือน
อยากรุ้ว่านับยังไงค่ะ 6 เดือน นับตั้งแต่วันที่ลาออกจากงานหรือนับตั้งแต่วันที่ถุกหักเงินสมทบปกส.เดือนสุดท้าย
แล้วนับเดือนถัดไป!!
ถ้านับเป็นเดือน เราคลอดบุตรเดือนมีนาเป็นเดือนที่ 6 พอดี เราคลอดกำหนดคลอด28มีนา เรายื่นเรื่องค่าคลอดบุตรวันนั่นเลยได้ไหมค่ะ แล้ววันต่อมาก็ยื่นต่อม.39 แบบนี่ได้ไหม
( ระหว่างนี่มันจะอยุ่สิทธิกึ่งกลางม.33-ม.39 )
เหตุผลที่อยากยื่นหลังจากเบิกค่าคลอด(ม.33)เพราะกลัวได้เงินชดเชยหยุดงานปกส.น้อยค่ะ
(อยากได้เงินชดเชยสิทธิม.33)
#แบบนี่จะเสียสิทธิไหมค่ะหรือยื่นม.39เลย