คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 1
มาตรา 24 ห้ามมิให้นายจ้างให้ลูกจ้างทำงานล่วงเวลาในวันทำงาน เว้นแต่ได้รับความยินยอมจากลูกจ้างก่อนเป็นคราว ๆ ไป
ในกรณีที่ลักษณะหรือสภาพของงานต้องทำติดต่อกันไป ถ้าหยุดจะเสียหายแก่งานหรือเป็นงานฉุกเฉิน หรือเป็นงานอื่นตามที่กำหนดในกฎกระทรวง นายจ้างอาจให้ลูกจ้างทำงานล่วงเวลาได้เท่าที่จำเป็น
---------------------
ในกรณีที่ลักษณะหรือสภาพของงานต้องทำติดต่อกันไป ถ้าหยุดจะเสียหายแก่งานหรือเป็นงานฉุกเฉิน หรือเป็นงานอื่นตามที่กำหนดในกฎกระทรวง นายจ้างอาจให้ลูกจ้างทำงานล่วงเวลาได้เท่าที่จำเป็น
---------------------
ฎีกาที่ ๒๙๘๕/๖/๒๕๔๓ เห็นว่า ตามบทกฎหมายดังกล่าว
งานที่มีลักษณะหรือสภาพของงานต้องทำติดต่อกันไป
ถ้าหยุดจะเสียหายแก่งานนั้น หมายถึงงานที่ลูกจ้างทำอยู่ในเวลาทำงานปกติ
มีลักษณะหรือสภาพของงาน ต้องทำต่อเนื่องกันไปจนกว่างานจะเสร็จ
หากหยุดก่อนงานที่ทำนั้นเสร็จ งานที่ทำนั้นจะเสียหาย
ส่วนงานฉุกเฉินนั้นหมายถึง งานที่เกิดขึ้นทันทีโดยไม่อาจคาดหมายได้ล่วงหน้า
และงานนั้นต้องทำให้เสร็จสิ้นทันที มิฉะนั้นงานที่เกิดขึ้นจะเสียหาย
....แม้ไม่ทำ O.T.ต่อไป ก็ไม่ทำให้งานที่ทำไว้เดิมต้องเสียหายแต่อย่างใด
จึงมิใช่งานที่มีลักษณะหรือสภาพของงานต้องทำติดต่อกันไป
ถ้าหยุดจะเสียหายแก่งาน
... ก็มิใช่งานที่เกิดขึ้นทันทีโดยไม่อาจคาดหมายได้ล่วงหน้า จึงไม่ใช่งานฉุกเฉิน
...เมื่อมิใช่งานที่จำเลยจะให้โจทก์ทำ O.T. โดยไม่ต้องได้รับความยินยอมก่อนได้
ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ.๒๕๔๑ มาตรา ๒๔ วรรคสอง
..การที่โจทก์ทั้งสองไม่ยอมทำงานดังกล่าวล่วงเวลา ตามที่จำเลยสั่งให้ทำ
ย่อมไม่มีความผิดที่จำเลยจะออกหนังสือตักเตือนได้
งานที่มีลักษณะหรือสภาพของงานต้องทำติดต่อกันไป
ถ้าหยุดจะเสียหายแก่งานนั้น หมายถึงงานที่ลูกจ้างทำอยู่ในเวลาทำงานปกติ
มีลักษณะหรือสภาพของงาน ต้องทำต่อเนื่องกันไปจนกว่างานจะเสร็จ
หากหยุดก่อนงานที่ทำนั้นเสร็จ งานที่ทำนั้นจะเสียหาย
ส่วนงานฉุกเฉินนั้นหมายถึง งานที่เกิดขึ้นทันทีโดยไม่อาจคาดหมายได้ล่วงหน้า
และงานนั้นต้องทำให้เสร็จสิ้นทันที มิฉะนั้นงานที่เกิดขึ้นจะเสียหาย
....แม้ไม่ทำ O.T.ต่อไป ก็ไม่ทำให้งานที่ทำไว้เดิมต้องเสียหายแต่อย่างใด
จึงมิใช่งานที่มีลักษณะหรือสภาพของงานต้องทำติดต่อกันไป
ถ้าหยุดจะเสียหายแก่งาน
... ก็มิใช่งานที่เกิดขึ้นทันทีโดยไม่อาจคาดหมายได้ล่วงหน้า จึงไม่ใช่งานฉุกเฉิน
...เมื่อมิใช่งานที่จำเลยจะให้โจทก์ทำ O.T. โดยไม่ต้องได้รับความยินยอมก่อนได้
ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ.๒๕๔๑ มาตรา ๒๔ วรรคสอง
..การที่โจทก์ทั้งสองไม่ยอมทำงานดังกล่าวล่วงเวลา ตามที่จำเลยสั่งให้ทำ
ย่อมไม่มีความผิดที่จำเลยจะออกหนังสือตักเตือนได้
แสดงความคิดเห็น
อยากถามว่าการโดนไล่ออกเพราะไม่ไปทำโอสามารถแจ้งอะไรได้ไหมคะ