รมช. ยอมรับ เงินดิจิทัล 10,000 บาทอาจคลอดไม่ทัน 1 ก.พ. 2567
โดยข้อติดขัดหลักๆ มาจาก 3 ประเด็น...
1. การทดสอบระบบแอปพลิเคชันดิจิทัลวอลเล็ต
2. แหล่งเงินงบประมาณ
3.การกำหนดกรอบผู้ที่จะมีสิทธิได้รับเงิน
.
.
“สุดท้ายตัวเลขที่จะต้องใช้ในโครงการนี้ จะเป็นเท่าไร
ผมก็ตอบไม่ได้ครับ มันได้แต่ Predict
มันไม่มีคำตอบที่เป็นวิทยาศาสตร์”
.
.
การประชุมคณะอนุกรรมการขับเคลื่อนโครงการเติมเงิน 10,000 บาท
ผ่านดิจิทัลวอลเล็ต ครั้งที่ 2/2566 จำเป็นต้องเลื่อนออกไป
จากวันพฤหัสบดีที่ 19 ตุลาคม 2566 เป็นวันอังคารที่ 24 ตุลาคม 2566 แทน
เนื่องจากมีหลายหน่วยงานยังไม่ได้ข้อสรุปที่ชัดเจน
.
.
ส่วนกำหนดการประชุมคณะกรรมการขับเคลื่อนฯ ชุดใหญ่ยังไม่ได้กำหนด
เนื่องจากอนุกรรมการฯ ยังไม่ได้ทำการบ้านส่งไป ดังนั้น
คณะกรรมชุดใหญ่จะกำหนดการประชุมได้ก็ต่อเมื่ออนุกรรมการฯ ได้ข้อสรุปแล้ว
ที่มา #TheStandardWealth
---------------------------
คำตอบที่หลายๆภาคส่วนต้องการ และรอคอย
ไม่ใช่คำตอบที่เป็นวิทยาศาสตร์ครับ
แต่ต้องการคำตอบที่เป็นเศรษฐศาสตร์ การเงินการคลัง ต่างหาก..
•ความล่าช้าจากการทดสอบระบบ..
หลายฝ่ายเคยตั้งข้อสังเกตไว้แล้ว ว่าไม่น่าทันวันที่ 1 ก.พ.67
แต่ถ้ารัฐบาลยอมใช้เป๋าตัง..ทันแน่นอน
เพราะไม่ต้องทดสอบระบบอีกแล้ว
วันก่อนเพิ่งบอกว่าทันวันที่ 1 ก.พ.แน่นอน
เพราะใช้แค่บางฟีเจอร์ก่อนก็พอ
มาวันนี้ พูดอีกอย่างอีกแล้วว่าต้องให้ความสำคัญกับการทดสอบระบบ
•การกำหนดกรอบผู้ที่จะมีสิทธิได้รับเงิน..
ข้อนี้ไม่น่าจะยาก แต่ทำไมมันจึงยาก?
เรื่องนี้อาจจะเกี่ยวพันกับวงเงินที่จะหามาได้
เมื่อวงเงินมีปัญหา ก็เลยสรุปไม่ได้
•แหล่งเงินงบประมาณ..
ข้อนี้น่าจะเป็นประเด็นหลัก เพราะยังหาไม่ได้หรือไม่?
วงเงินลดจาก ห้าแสนหกหมื่นล้านบาท เหลือ ห้าแสนสี่หมื่นแปดพันล้านบาท
ถ้าศึกษามาดีแล้ว จะไปปรับทำไม?
ดูเหมือนยื้อเวลาไปเรื่อยๆครับ ให้พ้น 31 ต.ค.66 ไปก่อน
ให้ปิดสมัยประชุมสภาไปก่อน ค่อยดำเนินการตามแผนต่อไป
อนุกรรมการ..
ทำงานไม่ทันกำหนดเวลาที่ได้รับมอบหมายไป
ประธานอนุกรรมการ..
ไม่สามารถควบคุมดูแลให้อนุกรรมการทำงานได้
ตามกรอบเวลาที่กำหนด
สมควรพิจารณาตัวเองหรือไม่?
ถ้าเป็นภาคเอกชน..ทำงานกันอย่างนี้
อย่างน้อยต้องโดนหนังสือเตือนแล้วครับ
อะไรที่มันคลุมเครือ
ก็ยังคงคลุมเครือกันต่อไป
คนที่ชมว่านายกทำงานเร็ว
คิดผิด คิดใหม่ได้นะครับ
เค้าลางแห่งความล้มเหลวของนโยบายนี้
เริ่มเผยโฉมออกมาให้เห็นแล้ว..
แค่สงสัย...รัฐบาลซื้อเวลานโยบายสิบพันหรือไม่?
โดยข้อติดขัดหลักๆ มาจาก 3 ประเด็น...
1. การทดสอบระบบแอปพลิเคชันดิจิทัลวอลเล็ต
2. แหล่งเงินงบประมาณ
3.การกำหนดกรอบผู้ที่จะมีสิทธิได้รับเงิน
.
.
“สุดท้ายตัวเลขที่จะต้องใช้ในโครงการนี้ จะเป็นเท่าไร
ผมก็ตอบไม่ได้ครับ มันได้แต่ Predict
มันไม่มีคำตอบที่เป็นวิทยาศาสตร์”
.
.
การประชุมคณะอนุกรรมการขับเคลื่อนโครงการเติมเงิน 10,000 บาท
ผ่านดิจิทัลวอลเล็ต ครั้งที่ 2/2566 จำเป็นต้องเลื่อนออกไป
จากวันพฤหัสบดีที่ 19 ตุลาคม 2566 เป็นวันอังคารที่ 24 ตุลาคม 2566 แทน
เนื่องจากมีหลายหน่วยงานยังไม่ได้ข้อสรุปที่ชัดเจน
.
.
ส่วนกำหนดการประชุมคณะกรรมการขับเคลื่อนฯ ชุดใหญ่ยังไม่ได้กำหนด
เนื่องจากอนุกรรมการฯ ยังไม่ได้ทำการบ้านส่งไป ดังนั้น
คณะกรรมชุดใหญ่จะกำหนดการประชุมได้ก็ต่อเมื่ออนุกรรมการฯ ได้ข้อสรุปแล้ว
ที่มา #TheStandardWealth
---------------------------
คำตอบที่หลายๆภาคส่วนต้องการ และรอคอย
ไม่ใช่คำตอบที่เป็นวิทยาศาสตร์ครับ
แต่ต้องการคำตอบที่เป็นเศรษฐศาสตร์ การเงินการคลัง ต่างหาก..
•ความล่าช้าจากการทดสอบระบบ..
หลายฝ่ายเคยตั้งข้อสังเกตไว้แล้ว ว่าไม่น่าทันวันที่ 1 ก.พ.67
แต่ถ้ารัฐบาลยอมใช้เป๋าตัง..ทันแน่นอน
เพราะไม่ต้องทดสอบระบบอีกแล้ว
วันก่อนเพิ่งบอกว่าทันวันที่ 1 ก.พ.แน่นอน
เพราะใช้แค่บางฟีเจอร์ก่อนก็พอ
มาวันนี้ พูดอีกอย่างอีกแล้วว่าต้องให้ความสำคัญกับการทดสอบระบบ
•การกำหนดกรอบผู้ที่จะมีสิทธิได้รับเงิน..
ข้อนี้ไม่น่าจะยาก แต่ทำไมมันจึงยาก?
เรื่องนี้อาจจะเกี่ยวพันกับวงเงินที่จะหามาได้
เมื่อวงเงินมีปัญหา ก็เลยสรุปไม่ได้
•แหล่งเงินงบประมาณ..
ข้อนี้น่าจะเป็นประเด็นหลัก เพราะยังหาไม่ได้หรือไม่?
วงเงินลดจาก ห้าแสนหกหมื่นล้านบาท เหลือ ห้าแสนสี่หมื่นแปดพันล้านบาท
ถ้าศึกษามาดีแล้ว จะไปปรับทำไม?
ดูเหมือนยื้อเวลาไปเรื่อยๆครับ ให้พ้น 31 ต.ค.66 ไปก่อน
ให้ปิดสมัยประชุมสภาไปก่อน ค่อยดำเนินการตามแผนต่อไป
อนุกรรมการ..
ทำงานไม่ทันกำหนดเวลาที่ได้รับมอบหมายไป
ประธานอนุกรรมการ..
ไม่สามารถควบคุมดูแลให้อนุกรรมการทำงานได้
ตามกรอบเวลาที่กำหนด
สมควรพิจารณาตัวเองหรือไม่?
ถ้าเป็นภาคเอกชน..ทำงานกันอย่างนี้
อย่างน้อยต้องโดนหนังสือเตือนแล้วครับ
อะไรที่มันคลุมเครือ
ก็ยังคงคลุมเครือกันต่อไป
คนที่ชมว่านายกทำงานเร็ว
คิดผิด คิดใหม่ได้นะครับ
เค้าลางแห่งความล้มเหลวของนโยบายนี้
เริ่มเผยโฉมออกมาให้เห็นแล้ว..