พระอภิธรรมปิฎก เล่ม ๔
กถาวัตถุปกรณ์
ขอนอบน้อมแต่พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น
มหาวรรค
ปุคคลกถา
นิคหะ ๘
นิคหะ ที่ ๘
อนุโลมปัญจกะ
[๑] สกวาที ท่านหยั่งเห็นบุคคล โดยสัจฉิกัตถปรมัตถ์ หรือ?
ปรวาที ถูกแล้ว
สมวาที: บุคคล..นะมี การไปปฎิเสธว่าบุคคลไม่มี...อันนี้จะเป็น..อุจเฉทวาทะ
ส. สภาวะใด เป็นสัจฉิกัตถะ เป็นปรมัตถะ ท่านหยั่งเห็นบุคคลนั้น ตาม สภาวะนั้น โดยสัจฉิกัตถปรมัตถ์ หรือ?
ป. ไม่พึงกล่าวอย่างนั้น
สมวาที: แน่นนอน...มันมีสภาวะที่แสดงให้เห็นว่ามี " สัตว์ - บุคคล - เรา - เขา "
ส. ท่านจงรับรู้นิคหะ หากว่า ท่านหยั่งเห็นบุคคลโดยสัจฉิกัตถปรมัตถ์ ด้วยเหตุ นั้นนะ
ท่านจึงต้องกล่าวว่า สภาวะใด เป็นสัจฉิกัตถะ เป็นปรมัตถะ
ข้าพเจ้าหยั่งเห็นบุคคลนั้น ตามสภาวะนั้น โดยสัจฉิกัตถปรมัตถ์,
ที่ท่านกล่าวในปัญหานั้นว่า พึงกล่าวได้ว่า
ข้าพเจ้าหยั่งเห็นบุคคลโดยสัจฉิกัตถปรมัตถ์ แต่ไม่พึงกล่าวว่า สภาวะใด
เป็นสัจฉิกัตถะ เป็นปรมัตถะ ข้าพเจ้าหยั่งเห็นบุคคลนั้น ตามสภาวะนั้น โดยสัจฉิกัตถปรมัตถ์ ดังนี้ ผิด
แต่ถ้าไม่พึงกล่าว ว่า สภาวะใด เป็นสัจฉิกัตถะ เป็นปรมัตถะ ข้าพเจ้าหยั่งเห็นบุคคลนั้น ตามสภาวะนั้น
โดย สัจฉิกัตถปรมัตถ์ ก็ต้องไม่กล่าวว่า ข้าพเจ้าหยั่งเห็นบุคคลโดยสัจฉิกัตถปรมัตถ์, ที่ท่านกล่าวใน
ปัญหานั้นว่า พึงกล่าวได้ว่า ข้าพเจ้าหยั่งเห็นบุคคล โดยสัจฉิกัตถปรมัตถ์ แต่ไม่พึงกล่าวว่า สภาวะใด
เป็นสัจฉิกัตถะ เป็นปรมัตถะ ข้าพเจ้าหยั่งเห็นบุคคลนั้น ตามสภาวะนั้น โดยสัจฉิกัตถ ปรมัตถ์ ดังนี้ ผิด
สมวาที: ส้มสามารถนำพุทธวจน..มาแสดงความเป็นบุคคลได้...ดังนี้ว่า
พระผู้เมีพระภาตท่านทรงแสดง " บุคคล "..ไว้ในภารสูตร ว่า
👇👇👇👇
=========================================================
๑. ภารสูตร
ว่าด้วยขันธ์ ๕ เป็นภาระ
[๔๙] พระนครสาวัตถี. ณ ที่นั้นแล ฯลฯ ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราจักแสดงภาระ
ผู้แบกภาระ เครื่องถือมั่นภาระ และเครื่องวางภาระ แก่เธอทั้งหลาย เธอทั้งหลายจงฟัง จงใส่
ใจให้ดี เราจักกล่าว ภิกษุเหล่านั้น ทูลรับสนองพระพุทธดำรัสแล้ว พระผู้มีพระภาคได้ตรัสว่า
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ภาระเป็นไฉน? พึงกล่าวว่า ภาระ คืออุปาทานขันธ์ ๕ อุปาทานขันธ์ ๕
เป็นไฉน? คือ อุปาทานขันธ์ คือรูป อุปาทานขันธ์ คือเวทนา อุปาทานขันธ์ คือสัญญา อุปาทาน
ขันธ์ คือสังขาร และอุปาทานขันธ์ คือวิญญาณ. ดูกรภิกษุทั้งหลาย นี้เรียกว่าภาระ.
[๕๐]
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ผู้แบกภาระเป็นไฉน?
พึงกล่าวว่า
บุคคล บุคคลนี้นั้น คือ ท่านผู้มีชื่ออย่างนี้ มีโคตรอย่างนี้.
ดูกรภิกษุทั้งหลาย นี้เรียกว่าผู้แบกภาระ.
[๕๑] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็เครื่องถือมั่นภาระเป็นไฉน? ตัณหานี้ใด นำให้เกิดภพใหม่
ประกอบด้วยความกำหนัด ด้วยอำนาจความเพลิดเพลิน มีปกติเพลิดเพลินยิ่งในภพหรืออารมณ์
นั้นๆ ได้แก่กามตัณหา ภวตัณหา วิภวตัณหา. ดูกรภิกษุทั้งหลาย นี้เรียกว่าเครื่องถือมั่นภาระ.
[๕๒] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็การวางภาระเป็นไฉน? ความที่ตัณหานั่นแลดับไปด้วย
สำรอกโดยไม่เหลือ ความสละ ความสละคืน ความพ้น ความไม่อาลัย. ดูกรภิกษุทั้งหลาย
นี้เรียกว่าการวางภาระ. พระผู้มีพระภาคผู้พระสุคตศาสดา ครั้นได้ตรัสไวยากรณภาษิตนี้จบลง
แล้ว จึงได้ตรัสคาถาประพันธ์ต่อไปอีกในภายหลังว่า
[๕๓] ขันธ์ ๕ ชื่อว่าภาระแล และผู้แบกภาระคือบุคคล เครื่องถือมั่น
ภาระเป็นเหตุนำมาซึ่งความทุกข์ในโลก การวางภาระเสียได้เป็นสุข
บุคคลวางภาระหนักเสียได้แล้ว ไม่ถือภาระอื่น ถอนตัณหาพร้อม
ทั้งมูลรากแล้ว เป็นผู้หายหิว ดับรอบแล้วดังนี้.
จบ สูตรที่ ๑.
==================================================================
สรุปว่า... " บุคคล " ....มีสภาวะ..ซึ่งในกรณีนี้...คือ " ผู้ที่แบกอุปาทานขันธ์5 "...
อันนี้หละ...สภาวะของบุคคล...ผู้ที่ยังมีอุปาทาน
ยกตัวอย่าง.. อีกอัน 👉 ของ..โสดาบันบุคคล
[๑๔๓๒] ดูกรสารีบุตร ที่เรียกว่า โสดาบันๆ ดังนี้ โสดาบันเป็นไฉน?
สา. ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ
ผู้ใดประกอบด้วยอริยมรรคมีองค์ ๘ นี้
ผู้นี้เรียกว่า พระโสดาบัน ท่านผู้นี้นั้น มีนามอย่างนี้ มีโคตรอย่างนี้.
[๑๔๓๓] พ.
ถูกละๆ สารีบุตร ผู้ซึ่งประกอบด้วยอริยมรรค ๘ นี้
เรียกว่า โสดาบัน ท่านผู้นี้นั้น มีนามอย่างนี้.
อนุโลมปัญจกะ จบ
กถาวัตถุ..ตอนที-1
กถาวัตถุปกรณ์
ขอนอบน้อมแต่พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น
มหาวรรค
ปุคคลกถา
นิคหะ ๘
นิคหะ ที่ ๘
อนุโลมปัญจกะ
[๑] สกวาที ท่านหยั่งเห็นบุคคล โดยสัจฉิกัตถปรมัตถ์ หรือ?
ปรวาที ถูกแล้ว
สมวาที: บุคคล..นะมี การไปปฎิเสธว่าบุคคลไม่มี...อันนี้จะเป็น..อุจเฉทวาทะ
ส. สภาวะใด เป็นสัจฉิกัตถะ เป็นปรมัตถะ ท่านหยั่งเห็นบุคคลนั้น ตาม สภาวะนั้น โดยสัจฉิกัตถปรมัตถ์ หรือ?
ป. ไม่พึงกล่าวอย่างนั้น
สมวาที: แน่นนอน...มันมีสภาวะที่แสดงให้เห็นว่ามี " สัตว์ - บุคคล - เรา - เขา "
ส. ท่านจงรับรู้นิคหะ หากว่า ท่านหยั่งเห็นบุคคลโดยสัจฉิกัตถปรมัตถ์ ด้วยเหตุ นั้นนะ
ท่านจึงต้องกล่าวว่า สภาวะใด เป็นสัจฉิกัตถะ เป็นปรมัตถะ
ข้าพเจ้าหยั่งเห็นบุคคลนั้น ตามสภาวะนั้น โดยสัจฉิกัตถปรมัตถ์,
ที่ท่านกล่าวในปัญหานั้นว่า พึงกล่าวได้ว่า
ข้าพเจ้าหยั่งเห็นบุคคลโดยสัจฉิกัตถปรมัตถ์ แต่ไม่พึงกล่าวว่า สภาวะใด
เป็นสัจฉิกัตถะ เป็นปรมัตถะ ข้าพเจ้าหยั่งเห็นบุคคลนั้น ตามสภาวะนั้น โดยสัจฉิกัตถปรมัตถ์ ดังนี้ ผิด
แต่ถ้าไม่พึงกล่าว ว่า สภาวะใด เป็นสัจฉิกัตถะ เป็นปรมัตถะ ข้าพเจ้าหยั่งเห็นบุคคลนั้น ตามสภาวะนั้น
โดย สัจฉิกัตถปรมัตถ์ ก็ต้องไม่กล่าวว่า ข้าพเจ้าหยั่งเห็นบุคคลโดยสัจฉิกัตถปรมัตถ์, ที่ท่านกล่าวใน
ปัญหานั้นว่า พึงกล่าวได้ว่า ข้าพเจ้าหยั่งเห็นบุคคล โดยสัจฉิกัตถปรมัตถ์ แต่ไม่พึงกล่าวว่า สภาวะใด
เป็นสัจฉิกัตถะ เป็นปรมัตถะ ข้าพเจ้าหยั่งเห็นบุคคลนั้น ตามสภาวะนั้น โดยสัจฉิกัตถ ปรมัตถ์ ดังนี้ ผิด
สมวาที: ส้มสามารถนำพุทธวจน..มาแสดงความเป็นบุคคลได้...ดังนี้ว่า
พระผู้เมีพระภาตท่านทรงแสดง " บุคคล "..ไว้ในภารสูตร ว่า
👇👇👇👇
=========================================================
๑. ภารสูตร
ว่าด้วยขันธ์ ๕ เป็นภาระ
[๔๙] พระนครสาวัตถี. ณ ที่นั้นแล ฯลฯ ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราจักแสดงภาระ
ผู้แบกภาระ เครื่องถือมั่นภาระ และเครื่องวางภาระ แก่เธอทั้งหลาย เธอทั้งหลายจงฟัง จงใส่
ใจให้ดี เราจักกล่าว ภิกษุเหล่านั้น ทูลรับสนองพระพุทธดำรัสแล้ว พระผู้มีพระภาคได้ตรัสว่า
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ภาระเป็นไฉน? พึงกล่าวว่า ภาระ คืออุปาทานขันธ์ ๕ อุปาทานขันธ์ ๕
เป็นไฉน? คือ อุปาทานขันธ์ คือรูป อุปาทานขันธ์ คือเวทนา อุปาทานขันธ์ คือสัญญา อุปาทาน
ขันธ์ คือสังขาร และอุปาทานขันธ์ คือวิญญาณ. ดูกรภิกษุทั้งหลาย นี้เรียกว่าภาระ.
[๕๐] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ผู้แบกภาระเป็นไฉน?
พึงกล่าวว่าบุคคล บุคคลนี้นั้น คือ ท่านผู้มีชื่ออย่างนี้ มีโคตรอย่างนี้.
ดูกรภิกษุทั้งหลาย นี้เรียกว่าผู้แบกภาระ.
[๕๑] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็เครื่องถือมั่นภาระเป็นไฉน? ตัณหานี้ใด นำให้เกิดภพใหม่
ประกอบด้วยความกำหนัด ด้วยอำนาจความเพลิดเพลิน มีปกติเพลิดเพลินยิ่งในภพหรืออารมณ์
นั้นๆ ได้แก่กามตัณหา ภวตัณหา วิภวตัณหา. ดูกรภิกษุทั้งหลาย นี้เรียกว่าเครื่องถือมั่นภาระ.
[๕๒] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็การวางภาระเป็นไฉน? ความที่ตัณหานั่นแลดับไปด้วย
สำรอกโดยไม่เหลือ ความสละ ความสละคืน ความพ้น ความไม่อาลัย. ดูกรภิกษุทั้งหลาย
นี้เรียกว่าการวางภาระ. พระผู้มีพระภาคผู้พระสุคตศาสดา ครั้นได้ตรัสไวยากรณภาษิตนี้จบลง
แล้ว จึงได้ตรัสคาถาประพันธ์ต่อไปอีกในภายหลังว่า
[๕๓] ขันธ์ ๕ ชื่อว่าภาระแล และผู้แบกภาระคือบุคคล เครื่องถือมั่น
ภาระเป็นเหตุนำมาซึ่งความทุกข์ในโลก การวางภาระเสียได้เป็นสุข
บุคคลวางภาระหนักเสียได้แล้ว ไม่ถือภาระอื่น ถอนตัณหาพร้อม
ทั้งมูลรากแล้ว เป็นผู้หายหิว ดับรอบแล้วดังนี้.
จบ สูตรที่ ๑.
==================================================================
สรุปว่า... " บุคคล " ....มีสภาวะ..ซึ่งในกรณีนี้...คือ " ผู้ที่แบกอุปาทานขันธ์5 "...
อันนี้หละ...สภาวะของบุคคล...ผู้ที่ยังมีอุปาทาน
ยกตัวอย่าง.. อีกอัน 👉 ของ..โสดาบันบุคคล
[๑๔๓๒] ดูกรสารีบุตร ที่เรียกว่า โสดาบันๆ ดังนี้ โสดาบันเป็นไฉน?
สา. ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ผู้ใดประกอบด้วยอริยมรรคมีองค์ ๘ นี้
ผู้นี้เรียกว่า พระโสดาบัน ท่านผู้นี้นั้น มีนามอย่างนี้ มีโคตรอย่างนี้.
[๑๔๓๓] พ. ถูกละๆ สารีบุตร ผู้ซึ่งประกอบด้วยอริยมรรค ๘ นี้
เรียกว่า โสดาบัน ท่านผู้นี้นั้น มีนามอย่างนี้.
อนุโลมปัญจกะ จบ