ถาม-ตอบยอดฮิต จากการสำรวจและผลิตปิโตรเลียม ในประเทศไทย

- ประเทศไทยมีแหล่งปิโตรเลียมบนบกและในทะเลที่ไหนบ้าง
- เหตุใดรัฐจึงไม่ทําการสํารวจและผลิตปโตรเลียมเองแต่ให้สัมปทานแก่บริษัทต่างชาติ
มาดําเนินการสํารวจปิโตรเลียม
- ประเทศไทยมีปิโตรเลียมมหาศาลจริงหรือไม่
- ประเทศไทยผลิตปิโตรเลียมได้มากเป็นอันดับต้นๆ ของโลกจริงหรือไม่
- เมื่อ 20 ปีที่แล้วก็บอกว่ามีน้ํามันดิบเหลือใช้ได้อีก 40 ปีปัจจุบันก็บอกว่ายังเหลืออีก
มากกว่า 50 ปีผลิตมาแล้ว 20 ปีทําไมกลับเหลือมากกว่าเดิมอีก แล้วตกลงเหลือน้ํามันดิบ
เหลือใช้ได้อีกกี่ปีกันแน่
- ทําไมประเทศไทยจําเป็นต้องเร่งรัดการสํารวจปิโตรเลียมในประเทศ เรานําเข้าปิโตรเลียม
จากต่างประเทศเหมือนเดิมไม่ได้หรือ
-  กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติมีบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบอย่างไร
- หากสํารวจพบปิโตรเลียมจะต้องเวนคืนที่ดินหรือไม่
- เจ้าของที่ดินที่สํารวจพบปิโตรเลียมจะได้รับประโยชน์อย่างไรบ้าง
- ผลประโยชน์ต่อชุมชนและประเทศโดยรวมในพื้นที่สํารวจพบปิโตรเลียมมีอะไรบ้าง
- การให้สัมปทานปิโตรเลียมมีขั้นตอนและวิธีการอย่างไร
- สัมปทานปิโตรเลียมมีอายุกี่ปี
- ในการสารวจและผล ํ ตปิ ิโตรเลียม มีการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนในพื้นที่หรือไม่
- รัฐได้กําหนดหลักเกณฑ์ในการดําเนินงานรอถอนสิ่งติดตั้งในกิจการสํารวจและผลิต
ปิโตรเลียมอย่างไรบ้าง
- ความเป็นมาของกฎหมายว่าด้วยปิโตรเลียม
- ประเทศไทยได้รับประโยชน์อย่างไรจากการให้สัมปทานปิโตรเลียม
- ประเทศไทยได้รับรายได้และผลประโยชน์จากการประกอบกิจการปิโตรเลียมเพียงร้อยละ
29.87 จริงหรือ
- ในการสํารวจและผลิตปิโตรเลียม มีนโยบายและมาตรการป้องกันผลกระทบสิ่งแวดล้อม
อย่างไรบ้าง
- กระทรวงพลังงานยืนยันได้ไหมว่าการเจาะหลุมน้ํามันในอ่าวไทยมีความปลอดภัยแน่นอน
และไม่เกิดเหตุรั่วไหลเหมือนของบรษัท BP ในอ่าวเม็กซิโกของสหรัฐอเมริกา
- การกําจัดกากของเสียอันตรายจากการเจาะหลุมสํารวจปิโตรเลียม ตัวอย่างเช่น เศษหิน
เศษดิน และกากน้ําโคลนฯ รัฐจะมีวิธีการกําจัดอย่างไร ที่จะสร้างความเชื่อมั่นของชุมชน
รอบพื้นที่เจาะหลุมว่ามีความปลอดภัยเพียงพอ และไม่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
สุขภาพ และชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชน

https://thailand.chevron.com/-/media/thailand/news/documents/faq-by-dmf.pdf
แก้ไขข้อความเมื่อ
แสดงความคิดเห็น
โปรดศึกษาและยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคลก่อนเริ่มใช้งาน อ่านเพิ่มเติมได้ที่นี่