หยิบยกต่อเนื่องจากกระทู้นี้
https://ppantip.com/topic/41852724
เหตุผล เพราะไม่ต้องการตอบใต้กระทู้นั้น เบื่อแสดงความคิดเห็นใต้เหล่าอาแปะรูปซ้ำซากจำเจ
เนื้อหาในกระทู้ กล่าวว่า
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้นายกประยุทธ์ เป็นนายกที่มาจากประชาธิปไตย เป็นนายกที่ให้คนไทยมีอิสรภาพ เป็นนายกที่พัฒนาประชาธิปไตยในไทยอย่างก้าวกระโดด EIU ชี้ว่า “ไทย” ถือเป็นประเทศที่มีการพัฒนาทางประชาธิปไตยมากที่สุดในโลกในปีที่ผ่านมา โดยไทยสามารถเลื่อนชั้นจากลำดับที่ 72 ในปี 2021 มาอยู่ในลำดับที่ 52 ของโลกในปี 2022 ขณะที่รัสเซียถูก EIU ชี้ว่าเป็นประเทศที่มีการพัฒนาประชาธิปไตยเลวร้ายมากที่สุดในโลก และตกชั้นจากลำดับที่ 124 ของปี 2021 มาอยู่ที่ลำดับ 146
จขกท.นี้ ขอเสริมความเห็นในการสนทนา ประเด็นกล่าว
นายกประยุทธ์ เป็นนายกที่มาจากประชาธิปไตย สามารถพูดได้ เพราะมีการเลือกตั้งตามระบอบประชาธิปไตย
หลังรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557 ภายใต้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2562 ทั้งหมด 500 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย ต้องการ 251 ที่นั่งจึงเป็นฝ่ายข้างมาก มีลงทะเบียนจำนวน 51,239,638 และมีผู้ใช้สิทธิ จำนวน 74.69% ( 0.34 pp)
ผู้สมัคร
สุดารัตน์ เกยุราพันธุ์ พรรคเพื่อไทย หัวหน้าที่ไม่ใช่หัวหน้าพรรค เขตของหัวหน้าบัญชีรายชื่อ (#2) การเลือกตั้งล่าสุด 265 ที่นั่ง, 48.41% ที่นั่งที่ชนะ 136 ที่นั่งเปลี่ยน 129 คะแนนเสียง 7,881,006 % 22.16% % 26.25 pp
ประยุทธ์ จันทร์โอชา (อิสระ) ไม่ใช่หัวหน้าพรรคพลังประชารัฐ ไม่ใช่สมาชิกพรรค พรรคใหม่ ที่นั่งที่ชนะ 116 ที่นั่งเปลี่ยน 116 คะแนนเสียง 8,441,274 23.74% % 23.74 pp กดชมรายละเอียดเพิ่มเติมได้ ที่มา. วิกิพีเดีย
+++
วันที่ 25 มีนาคม 2562 มีการประกาศผลผู้ชนะการเลือกตั้งแบบแบ่งเขตอย่างไม่เป็นทางการทั้ง 350 เขต
วันที่ 7 พฤษภาคม กกต. รับรองผลการเลือกตั้ง 349 เขต
วันที่ 8 พฤษภาคม ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยเปิดช่องให้ใช้สูตรคำนวณ ส.ส. แบบบัญชีรายชื่อให้พรรคการเมืองที่ได้ที่นั่งน้อยกว่า ส.ส. พึงมี ต่อมาวันที่ 26 พฤษภาคม กกต. สรุปรายชื่อ ส.ส. ทั้ง 500 คน
ลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย พ.ศ. 2562 เป็นการลงมติของสภาผู้แทนราษฎร และวุฒิสภา (ที่ประชุมร่วมกันของรัฐสภา) ในวันที่ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2562 ณ หอประชุมใหญ่ บริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน) ถนนแจ้งวัฒนะ การประชุมดังกล่าวมี ส.ส. ลงนามเข้าร่วมประชุม 497 คน จากจำนวนที่มีอยู่ 500 คน ร่วมกับ ส.ว. ที่ได้รับการแต่งตั้งจากคณะรักษาความสงบแห่งชาติ อีก 250 คน รวมเป็น 747 คน ซึ่งผู้ที่จะได้รับเลือก ต้องได้รับคะแนนเสียงมากกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกรัฐสภาที่มีอยู่ (375 เสียง) ที่ประชุมเสนอชื่อบุคคลให้สมาชิกลงมติเลือก 2 คน คือ พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา ซึ่งไม่ได้สังกัดพรรคการเมือง แต่พรรคพลังประชารัฐเสนอชื่อชิงตำแหน่ง และธนาธร จึงรุ่งเรืองกิจ ส.ส.บัญชีรายชื่อ พรรคอนาคตใหม่
ผลการลงมติ ภายหลังเสร็จสิ้นการลงคะแนน ชวน หลีกภัย ประธานรัฐสภา ได้ประกาศผลการนับคะแนนเลือกนายกรัฐมนตรีว่า พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา แคนดิเดตนายกรัฐมนตรีพรรคพลังประชารัฐ ได้รับความเห็นชอบ จำนวน 500 คะแนน ส่วนธนาธร จึงรุ่งเรืองกิจ หัวหน้าพรรคอนาคตใหม่ ได้รับความเห็นชอบ 244 คะแนน และมีสมาชิกรัฐสภางดออกเสียง 3 คะแนน (คือ ชวน หลีกภัย, พรเพชร วิชิตชลชัย สมาชิกวุฒิสภาในฐานะรองประธานรัฐสภา และสิริพงศ์ อังคสกุลเกียรติ ส.ส. ศรีสะเกษ เขต 1 พรรคภูมิใจไทย) พลเอกประยุทธ์จึงได้เป็นนายกรัฐมนตรี .... ที่มา.
wikipedia.org
ในมุมมองสนทนาของสมาชิกนาม LXIV ประเทศไทยเป็นประเทศประชาธิปไตย และมุมมอง จขกท. ก็มีดังนี้
เหตุผล เพราะไม่ต้องการตอบใต้กระทู้นั้น เบื่อแสดงความคิดเห็นใต้เหล่าอาแปะรูปซ้ำซากจำเจ
เนื้อหาในกระทู้ กล่าวว่า
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
จขกท.นี้ ขอเสริมความเห็นในการสนทนา ประเด็นกล่าว นายกประยุทธ์ เป็นนายกที่มาจากประชาธิปไตย สามารถพูดได้ เพราะมีการเลือกตั้งตามระบอบประชาธิปไตย
หลังรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557 ภายใต้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2562 ทั้งหมด 500 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย ต้องการ 251 ที่นั่งจึงเป็นฝ่ายข้างมาก มีลงทะเบียนจำนวน 51,239,638 และมีผู้ใช้สิทธิ จำนวน 74.69% ( 0.34 pp)
ผู้สมัคร
สุดารัตน์ เกยุราพันธุ์ พรรคเพื่อไทย หัวหน้าที่ไม่ใช่หัวหน้าพรรค เขตของหัวหน้าบัญชีรายชื่อ (#2) การเลือกตั้งล่าสุด 265 ที่นั่ง, 48.41% ที่นั่งที่ชนะ 136 ที่นั่งเปลี่ยน 129 คะแนนเสียง 7,881,006 % 22.16% % 26.25 pp
ประยุทธ์ จันทร์โอชา (อิสระ) ไม่ใช่หัวหน้าพรรคพลังประชารัฐ ไม่ใช่สมาชิกพรรค พรรคใหม่ ที่นั่งที่ชนะ 116 ที่นั่งเปลี่ยน 116 คะแนนเสียง 8,441,274 23.74% % 23.74 pp กดชมรายละเอียดเพิ่มเติมได้ ที่มา. วิกิพีเดีย
+++
วันที่ 25 มีนาคม 2562 มีการประกาศผลผู้ชนะการเลือกตั้งแบบแบ่งเขตอย่างไม่เป็นทางการทั้ง 350 เขต
วันที่ 7 พฤษภาคม กกต. รับรองผลการเลือกตั้ง 349 เขต
วันที่ 8 พฤษภาคม ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยเปิดช่องให้ใช้สูตรคำนวณ ส.ส. แบบบัญชีรายชื่อให้พรรคการเมืองที่ได้ที่นั่งน้อยกว่า ส.ส. พึงมี ต่อมาวันที่ 26 พฤษภาคม กกต. สรุปรายชื่อ ส.ส. ทั้ง 500 คน
ลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย พ.ศ. 2562 เป็นการลงมติของสภาผู้แทนราษฎร และวุฒิสภา (ที่ประชุมร่วมกันของรัฐสภา) ในวันที่ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2562 ณ หอประชุมใหญ่ บริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน) ถนนแจ้งวัฒนะ การประชุมดังกล่าวมี ส.ส. ลงนามเข้าร่วมประชุม 497 คน จากจำนวนที่มีอยู่ 500 คน ร่วมกับ ส.ว. ที่ได้รับการแต่งตั้งจากคณะรักษาความสงบแห่งชาติ อีก 250 คน รวมเป็น 747 คน ซึ่งผู้ที่จะได้รับเลือก ต้องได้รับคะแนนเสียงมากกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกรัฐสภาที่มีอยู่ (375 เสียง) ที่ประชุมเสนอชื่อบุคคลให้สมาชิกลงมติเลือก 2 คน คือ พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา ซึ่งไม่ได้สังกัดพรรคการเมือง แต่พรรคพลังประชารัฐเสนอชื่อชิงตำแหน่ง และธนาธร จึงรุ่งเรืองกิจ ส.ส.บัญชีรายชื่อ พรรคอนาคตใหม่
ผลการลงมติ ภายหลังเสร็จสิ้นการลงคะแนน ชวน หลีกภัย ประธานรัฐสภา ได้ประกาศผลการนับคะแนนเลือกนายกรัฐมนตรีว่า พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา แคนดิเดตนายกรัฐมนตรีพรรคพลังประชารัฐ ได้รับความเห็นชอบ จำนวน 500 คะแนน ส่วนธนาธร จึงรุ่งเรืองกิจ หัวหน้าพรรคอนาคตใหม่ ได้รับความเห็นชอบ 244 คะแนน และมีสมาชิกรัฐสภางดออกเสียง 3 คะแนน (คือ ชวน หลีกภัย, พรเพชร วิชิตชลชัย สมาชิกวุฒิสภาในฐานะรองประธานรัฐสภา และสิริพงศ์ อังคสกุลเกียรติ ส.ส. ศรีสะเกษ เขต 1 พรรคภูมิใจไทย) พลเอกประยุทธ์จึงได้เป็นนายกรัฐมนตรี .... ที่มา.wikipedia.org