สังโยชนสูตร
https://etipitaka.com/read/thai/21/89/
[๘๘] จตฺตโรเม ภิกฺขเว ปุคฺคลา สนฺโต(มีอยู่) สํวิชฺชมานา(ประสพภพได้) โลกสฺมึ(ซึ่งในโลก)
...ภิกษุ ท.! มีบุคคล 4 (จำพวก) ..ประสพพบได้ในโลก...
กตเม จตฺตาโร
-- 4 (จำพวก) ..อย่างไร..เล่า?
สมณมจโล
--- (คือ...1 )สมณะมั่นคง..
สมณปุณฺฑรีโก
--- (คือ...2 )สมณะบัวขาว..
สมณปทุโม
--- (คือ...3 )สมณะบัวชมพู..
สมเณสุ สมณสุขุมาโล ฯ
--- (คือ...4 )สมณะผู้ละเอียดอ่อน..ในหมู่สมณะ
กถญฺจ ภิกฺขเว ปุคฺคโล สมณมจโล โหติ
ภิกษุ ท.! ก็อย่างไร..คือ..บุคคล..ผู้เป็นสมณะมั่นคง..ที่มี(อยู่ในโลก)
อิธ ภิกฺขเว ภิกฺขุ ติณฺณํ สญฺโญชนานํ ปริกฺขยา โสตาปนฺโน โหติ อวินิปาตธมฺโม นิยโต สมฺโพธิปรายโน
ภิกษุ ท.! ในกรณีนี้..คือ ภิกษุผู้ซึ่งทำลายเครื่องผูกทั้ง 3 ได้แล้ว
ได้เป็นโสดาบัน..เป็นผู้มีธรรมอันไม่แปรปรวน.. เที่ยงแท้ต่อการรู้แจ้งในภายภาคหน้า..
เอวํ โข ภิกฺขเว ปุคฺคโล สมณมจโล โหติ ฯ
ภิกษุ ท.! อย่างนี้แล..คือ..บุคคล..ผู้เป็นสมณะมั่นคง....ที่มี(อยู่ในโลก)
กถญฺจ ภิกฺขเว ปุคฺคโล สมณปุณฺฑรีโก โหติ
ภิกษุ ท.! ก็อย่างไร..คือ..บุคคล..ผู้เป็นสมณะบัวขาว..ที่มี(อยู่ในโลก)
อิธ ภิกฺขเว ภิกฺขุ ติณฺณํ สญฺโญชนานํ ปริกฺขยา ราคโทสโมหานํ ตนุตฺตา
สกทาคามี โหติ สกิเทว อิมํ โลกํ อาคนฺตฺวา ทุกฺขสฺสนฺตํ กโรติ
ภิกษุ ท.! ในกรณีนี้..คือ ภิกษุผู้ซึ่งทำลายเครื่องผูกทั้ง 3 ได้แล้ว...
ราคะ-โทสะ-โมหะ..เบายางลง ได้เป็นสกทาคามี.. กลับมาสู่โลกนี้อีกเพียงครั้งเดียว
จะกระทำให้แจ้งได้ซึ่งกองทุกข์
เอวํ โข ภิกฺขเว ปุคฺคโล สมณปุณฺฑรีโก โหติ ฯ
ภิกษุ ท.! อย่างนี้แล..คือ..บุคคล..ผู้เป็นสมณะบัวขาว..ที่มี(อยู่ในโลก)
กถญฺจ ภิกฺขเว ปุคฺคโล สมณปทุโม โหติ
ภิกษุ ท.! ก็อย่างไร..คือ..บุคคล..ผู้เป็นสมณะบัวชมพู..ที่มี(อยู่ในโลก)
อิธ ภิกฺขเว ภิกฺขุ ปญฺจนฺนํ โอรมฺภาคิยานํ สญฺโญชนานํ ปริกฺขยา โอปปาติโก โหติ
ตตฺถ ปรินิพฺพายี อนาวตฺติธมฺโม ตสฺมา โลกา
ภิกษุ ท.! ในกรณีนี้..คือ ภิกษุผู้ซึ่งทำลายเครื่องผูกเบื้องต่ำทั้ง 5 ได้แล้ว...
ได้เป็นผู้ผุดเกิด(โอปปาติโก) ในที่นั้น..จะปรินิพพาย จะไม่กลับจากโลกนั้น..แน่นอน
เอวํ โข ภิกฺขเว ปุคฺคโล สมณปทุโม โหติ ฯ
ภิกษุ ท.! อย่างนี้แล..คือ..บุคคล..ผู้เป็นสมณะบัวชมพู..ที่มี(อยู่ในโลก)
กถญฺจ ภิกฺขเว ปุคฺคโล สมเณสุ สมณสุขุมาโล โหติ
ภิกษุ ท.! ก็อย่างไร..คือ..บุคคล..ผู้เป็นมณะผู้ละเอียดอ่อน..ในหมู่สมณะ..ที่มี(อยู่ในโลก)
อิธ ภิกฺขเว ภิกฺขุ อาสวานํ ขยา อนาสวํ เจโตวิมุตฺตึ ปญฺญาวิมุตฺตึ ทิฏฺเฐว ธมฺเม สยํ
อภิญฺญา สจฺฉิกตฺวา อุปสมฺปชฺช วิหรติ
ภิกษุ ท.! ในกรณีนี้..คือ ภิกษุผู้ซึ่งมีอาสวะสิ้นไป - ปราศจากอาสวะ มีการหลุดพ้นด้วยจิต..และ..ปัญญา
ประจักษ์ในธรรมในปัจจุบัน..รู้แจ้งประจักษ์แก่เขาเอง..ถึงพร้อมแล้วอยู่
เอวํ โข ภิกฺขเว ปุคฺคโล สมเณสุ สมณสุขุมาโล โหติ ฯ
ภิกษุ ท.! อย่างนี้แล..คือ..บุคคล..ผู้เป็นสมณะผู้ละเอียดอ่อน..ในหมู่สมณะ..ที่มี(อยู่ในโลก)
อิเม โข ภิกฺขเว จตฺตาโร ปุคฺคลา สนฺโต สํวิชฺชมานา โลกสฺมินฺติ ฯ
ภิกษุ ท.! อย่างนี้แล..คือ....บุคคล 4 (จำพวก) ..ประสพพบได้..ในโลก...
สรุป..
1. พระโสดาบัน.. เหมือนกับ พระสกทาคามี ตรงการละซึ่งสังโยขน์เบื้องต่ำ 3 ข้อ
แต่... พระสกทาคามี..ท่านมีความเบาบางของอาสวะ... คือ ราคะ - โทสะ - โมหะ
2. แล้วเพราะอะไร..ทำไม่ สกทาคามีจึงมีราคะโทสะโมหะ..เบาบางจากโสดาบัน
อันนี้..ก็ต้องตอบว่า เพราะว่า..ความไม่ประมาท พระโสดาบันผู้ไม่ประมาท
หมั่นกระทำสติปัฏฐาน4... กระทำธัมมวิจยสัมโพชฌงค์..อวิชชาก็จะจางๆ เพราะวิชชาเพิ่มขึ้นๆ
ราคะ - โทสะ - โมหะ...มันก็เบาบางลงเพราะปัญญามันเพิ่ม..พอปัญญาเพิ่มเมื่อเจอผัสสะ..
แล้วเกิดเวทนา..แล้วจะไปเกิดตัณหา -- ก็ดับตัณหา..เหล่านั้นได้ ได้บาง..พลาดท่าบาง
นี่หละ...จึงทำให้อาสวะมันเบาบางลง ก็เลย..ขยับชั้นเป็น..สกทาคามีบุคคล
3. ตรงคำว่า "
สกทาคามี โหติ สกิเทว อิมํ โลกํ อาคนฺตฺวา ทุกฺขสฺสนฺตํ กโรติ "
ที่แปลว่า " ได้เป็นสกทาคามี.. กลับมาสู่
โลกนี้อีกเพียงครั้งเดียว...จะกระทำให้แจ้งได้ซึ่งกองทุกข์ "
คุณต้องไปดู.. อนาคามีซิ พระองค์กล่าวว่า " อนาวตฺติธมฺโม ตสฺมา โลกา -- ไม่หวนคือจกโลกนั้น "
จะเห็นว่า.. โลกของพรหมที่อนาคามีบุคคลไปผุดเกิด.. มันคนละโลกกับ..โลกนี้ของสกทาคามี
ซึ่งคือ...รูปภพ..
ผมจะสรุปว่า.. สกทาคามีก็จะกลับมาสู่โลกที่เป็น " กามภพ "...
และจะกลับมาสู่..โลกมนุษย์หรือไม่? เพราะว่า..โลกมนุษย์ก็อยู่ในกามภพ..เช่นกัน
อันนี้..ต้องตอบว่าไม่ เพราะอะไร?
เพราะว่า.. ถ้าจะกลับมาสู่..โลกมนุษย์อีก 👈..ก็จะใช้คำว่า " กลับมาสู่สกุล..(ในโลกนี้อีกเพียงครั้งเดียว) "..
ซึ่งพระองค์กล่าวไว้แล้ว..ในโสดาบันผู้เอกพีชี...
สัตว์:..ผู้อริยสาวก-ผู้สกทาคา..ตอนที่ 1: ..สมณะบุณฑริก..คือ...พระสกทาคามี..
สังโยชนสูตร https://etipitaka.com/read/thai/21/89/
[๘๘] จตฺตโรเม ภิกฺขเว ปุคฺคลา สนฺโต(มีอยู่) สํวิชฺชมานา(ประสพภพได้) โลกสฺมึ(ซึ่งในโลก)
...ภิกษุ ท.! มีบุคคล 4 (จำพวก) ..ประสพพบได้ในโลก...
กตเม จตฺตาโร -- 4 (จำพวก) ..อย่างไร..เล่า?
สมณมจโล --- (คือ...1 )สมณะมั่นคง..
สมณปุณฺฑรีโก --- (คือ...2 )สมณะบัวขาว..
สมณปทุโม --- (คือ...3 )สมณะบัวชมพู..
สมเณสุ สมณสุขุมาโล ฯ --- (คือ...4 )สมณะผู้ละเอียดอ่อน..ในหมู่สมณะ
กถญฺจ ภิกฺขเว ปุคฺคโล สมณมจโล โหติ
ภิกษุ ท.! ก็อย่างไร..คือ..บุคคล..ผู้เป็นสมณะมั่นคง..ที่มี(อยู่ในโลก)
อิธ ภิกฺขเว ภิกฺขุ ติณฺณํ สญฺโญชนานํ ปริกฺขยา โสตาปนฺโน โหติ อวินิปาตธมฺโม นิยโต สมฺโพธิปรายโน
ภิกษุ ท.! ในกรณีนี้..คือ ภิกษุผู้ซึ่งทำลายเครื่องผูกทั้ง 3 ได้แล้ว
ได้เป็นโสดาบัน..เป็นผู้มีธรรมอันไม่แปรปรวน.. เที่ยงแท้ต่อการรู้แจ้งในภายภาคหน้า..
เอวํ โข ภิกฺขเว ปุคฺคโล สมณมจโล โหติ ฯ
ภิกษุ ท.! อย่างนี้แล..คือ..บุคคล..ผู้เป็นสมณะมั่นคง....ที่มี(อยู่ในโลก)
กถญฺจ ภิกฺขเว ปุคฺคโล สมณปุณฺฑรีโก โหติ
ภิกษุ ท.! ก็อย่างไร..คือ..บุคคล..ผู้เป็นสมณะบัวขาว..ที่มี(อยู่ในโลก)
อิธ ภิกฺขเว ภิกฺขุ ติณฺณํ สญฺโญชนานํ ปริกฺขยา ราคโทสโมหานํ ตนุตฺตา
สกทาคามี โหติ สกิเทว อิมํ โลกํ อาคนฺตฺวา ทุกฺขสฺสนฺตํ กโรติ
ภิกษุ ท.! ในกรณีนี้..คือ ภิกษุผู้ซึ่งทำลายเครื่องผูกทั้ง 3 ได้แล้ว...
ราคะ-โทสะ-โมหะ..เบายางลง ได้เป็นสกทาคามี.. กลับมาสู่โลกนี้อีกเพียงครั้งเดียว
จะกระทำให้แจ้งได้ซึ่งกองทุกข์
เอวํ โข ภิกฺขเว ปุคฺคโล สมณปุณฺฑรีโก โหติ ฯ
ภิกษุ ท.! อย่างนี้แล..คือ..บุคคล..ผู้เป็นสมณะบัวขาว..ที่มี(อยู่ในโลก)
กถญฺจ ภิกฺขเว ปุคฺคโล สมณปทุโม โหติ
ภิกษุ ท.! ก็อย่างไร..คือ..บุคคล..ผู้เป็นสมณะบัวชมพู..ที่มี(อยู่ในโลก)
อิธ ภิกฺขเว ภิกฺขุ ปญฺจนฺนํ โอรมฺภาคิยานํ สญฺโญชนานํ ปริกฺขยา โอปปาติโก โหติ
ตตฺถ ปรินิพฺพายี อนาวตฺติธมฺโม ตสฺมา โลกา
ภิกษุ ท.! ในกรณีนี้..คือ ภิกษุผู้ซึ่งทำลายเครื่องผูกเบื้องต่ำทั้ง 5 ได้แล้ว...
ได้เป็นผู้ผุดเกิด(โอปปาติโก) ในที่นั้น..จะปรินิพพาย จะไม่กลับจากโลกนั้น..แน่นอน
เอวํ โข ภิกฺขเว ปุคฺคโล สมณปทุโม โหติ ฯ
ภิกษุ ท.! อย่างนี้แล..คือ..บุคคล..ผู้เป็นสมณะบัวชมพู..ที่มี(อยู่ในโลก)
กถญฺจ ภิกฺขเว ปุคฺคโล สมเณสุ สมณสุขุมาโล โหติ
ภิกษุ ท.! ก็อย่างไร..คือ..บุคคล..ผู้เป็นมณะผู้ละเอียดอ่อน..ในหมู่สมณะ..ที่มี(อยู่ในโลก)
อิธ ภิกฺขเว ภิกฺขุ อาสวานํ ขยา อนาสวํ เจโตวิมุตฺตึ ปญฺญาวิมุตฺตึ ทิฏฺเฐว ธมฺเม สยํ
อภิญฺญา สจฺฉิกตฺวา อุปสมฺปชฺช วิหรติ
ภิกษุ ท.! ในกรณีนี้..คือ ภิกษุผู้ซึ่งมีอาสวะสิ้นไป - ปราศจากอาสวะ มีการหลุดพ้นด้วยจิต..และ..ปัญญา
ประจักษ์ในธรรมในปัจจุบัน..รู้แจ้งประจักษ์แก่เขาเอง..ถึงพร้อมแล้วอยู่
เอวํ โข ภิกฺขเว ปุคฺคโล สมเณสุ สมณสุขุมาโล โหติ ฯ
ภิกษุ ท.! อย่างนี้แล..คือ..บุคคล..ผู้เป็นสมณะผู้ละเอียดอ่อน..ในหมู่สมณะ..ที่มี(อยู่ในโลก)
อิเม โข ภิกฺขเว จตฺตาโร ปุคฺคลา สนฺโต สํวิชฺชมานา โลกสฺมินฺติ ฯ
ภิกษุ ท.! อย่างนี้แล..คือ....บุคคล 4 (จำพวก) ..ประสพพบได้..ในโลก...
สรุป..
1. พระโสดาบัน.. เหมือนกับ พระสกทาคามี ตรงการละซึ่งสังโยขน์เบื้องต่ำ 3 ข้อ
แต่... พระสกทาคามี..ท่านมีความเบาบางของอาสวะ... คือ ราคะ - โทสะ - โมหะ
2. แล้วเพราะอะไร..ทำไม่ สกทาคามีจึงมีราคะโทสะโมหะ..เบาบางจากโสดาบัน
อันนี้..ก็ต้องตอบว่า เพราะว่า..ความไม่ประมาท พระโสดาบันผู้ไม่ประมาท
หมั่นกระทำสติปัฏฐาน4... กระทำธัมมวิจยสัมโพชฌงค์..อวิชชาก็จะจางๆ เพราะวิชชาเพิ่มขึ้นๆ
ราคะ - โทสะ - โมหะ...มันก็เบาบางลงเพราะปัญญามันเพิ่ม..พอปัญญาเพิ่มเมื่อเจอผัสสะ..
แล้วเกิดเวทนา..แล้วจะไปเกิดตัณหา -- ก็ดับตัณหา..เหล่านั้นได้ ได้บาง..พลาดท่าบาง
นี่หละ...จึงทำให้อาสวะมันเบาบางลง ก็เลย..ขยับชั้นเป็น..สกทาคามีบุคคล
3. ตรงคำว่า " สกทาคามี โหติ สกิเทว อิมํ โลกํ อาคนฺตฺวา ทุกฺขสฺสนฺตํ กโรติ "
ที่แปลว่า " ได้เป็นสกทาคามี.. กลับมาสู่โลกนี้อีกเพียงครั้งเดียว...จะกระทำให้แจ้งได้ซึ่งกองทุกข์ "
คุณต้องไปดู.. อนาคามีซิ พระองค์กล่าวว่า " อนาวตฺติธมฺโม ตสฺมา โลกา -- ไม่หวนคือจกโลกนั้น "
จะเห็นว่า.. โลกของพรหมที่อนาคามีบุคคลไปผุดเกิด.. มันคนละโลกกับ..โลกนี้ของสกทาคามี
ซึ่งคือ...รูปภพ..
ผมจะสรุปว่า.. สกทาคามีก็จะกลับมาสู่โลกที่เป็น " กามภพ "...
และจะกลับมาสู่..โลกมนุษย์หรือไม่? เพราะว่า..โลกมนุษย์ก็อยู่ในกามภพ..เช่นกัน
อันนี้..ต้องตอบว่าไม่ เพราะอะไร?
เพราะว่า.. ถ้าจะกลับมาสู่..โลกมนุษย์อีก 👈..ก็จะใช้คำว่า " กลับมาสู่สกุล..(ในโลกนี้อีกเพียงครั้งเดียว) "..
ซึ่งพระองค์กล่าวไว้แล้ว..ในโสดาบันผู้เอกพีชี...