กระทู้นี้จะไม่พูดถึง ระบอบคอมมิวนิตส์ เพราะเป็นเรื่องที่กว้างมาก พูด เป็นปีก็ไม่จบ
แต่ถ้าพูดถึงระบบเศรษฐกิจ planned economy หรือแปลตรงตัวคือ เศรษฐกิจแบบวางแผน ความหมายคือ เศรษฐกิจที่ถูกกำหนดให้เป็นไปตามความต้องการของรัฐบาลหรือสังคมในเวลานั้น เช่น ผลิตเท่าไร่ ผลิตอย่างไร ราคาเท่าไร่ ค่าจ้างและผลตอบแทนแก่แรงงานเท่าไร่ ซึ่งถ้าดูจากปัญหาเศรษฐกิจไทย ที่เราเจอตอนนี้ คือ ราคาสินค้า ไม่สัมพันธ์กับรายได้ หรือ ความเหลื่อมล้ำ ซึ่งก็มักจะมีข้ออ้างว่า
เราติดกับดักรายปานกลาง ข้ออ้างนี้ ดูเหมือนสมเหตุสมผล แต่พอ ถามว่า ราคาอาหารฟาสฟู้ดส์ในต่างประเทศราคาเกือบเท่าที่ไทยหรือถูกกว่า ทั้งๆที่ แต่ ค่าแรง เงินเดือน ที่ถูกนับว่าเป็นส่วนหนึ่งต้นทุน ของพนักงานในร้านนั้นๆสูงกว่าไทยสัก 10 เท่า ต่อ ช.ม เห็นจะได้ แต่เขาไม่ขาดทุน วกมาที่ไทย
ส่วนต่าง ของค่าแรง ไปอยู่ที่ไหน เพราะขายเท่ากันแต่ต้นทุนที่เป็นค่าแรงถูกว่า 10 เท่า ถ้าค่าแรงถูกกว่า 10 เท่า สินค้าก็ควรจะถูกกว่า 10 เท่า หลายๆคน เจอคำถามนี้ ใบ้กินกันหมด ไม่รู้จะอ้างอะไร ดังนั้นมายาคติที่ว่า เราติดกับดักรายได้ปานกลาง หรือ ไม่มีเทคโนโลยี ก็ถูกตีตกไปอย่างง่ายดาย และถ้าตามตรรกะนี้ เราสามารถขึ้นค่าแรง อย่างน้อย 4-5 เท่า โดยมีผลทันทีในวันพรุ่งนี้ โดยไม่ต้องขึ้นราคาสินค้า แม้แต่บาทเดียวก็ย่อมทำได้ เพราะเราไม่เคยรู้ว่า จริงๆแล้ว ต้นทุนสินค้า ชิ้นหนึ่ง มันเท่ากันแน่ เศรษฐกิจแบบทุนนิยมเสรี กำไรต้องมาก่อน รัฐบาลควบคุมไม่ได้ ปล่อยให้ผลิต ปล่อยให้ตั้งราคากันเอง ปล่อยให้กดขี่แรงงานจนชินชา
เหมือนพวกราคาสินค้าเกษตร ที่นายทุนรับซื้อถูกๆแล้วมาขายแพงๆ ไก่สดโลละ 150 ไข่เบอร์ 1 แผง 150 เนื้อหมู โล 250 ทั้งหมดนี้ไม่เกี่ยวกับต้นทุนหรือใดๆทั้งสิ้น แต่เป็นเพราะเขาอยากขายราคาเท่านี้ ไม่มีเงินซื้อก็ส่งไปขายนอก แล้วอ้างว่าเป็นครัวโลก สิ่งเหล่านี้เกิดขึ้นมาโดยตลอด เพราะรัฐบาลไม่ผูกขาดการรับซื้อเอง แล้วขายแปรรูปมาขายให้ประชาชนอีกทอดนึงในราคาที่ยุติธรรม
สิ่งที่ควรทำเร่งด่วนคือ รัฐบาลต้องริเริ่มระบบเศรษฐกิจแบบวางแผนจากส่วนกลาง Nationalized กิจการทั้งในประเทศและต่างชาติ ให้เหลือไว้แต่ ธุรกิจส่วนตัวขนาดเล็กเท่านั้น เช่น อาหาร พลังงาน ขนส่ง และ อื่นๆ วางแผนการผลิตให้มีประสิทธิภาพ จ่ายค่าจ้างและเงินเดือนที่เป็นธรรม มีการแสดงผลกำไร และ รายได้ แก่สาธารณะ เพื่อไม่ให้มีการสะสมทุนโดยคนไม่กี่กลุ่มมากจนเกินไป และควบคุมการไหลเข้าออกของเงินทุนอย่างเข้มงวด เราก็จะไม่เห็นข่าวที่ว่า นายทุนขนเงินไปเที่ยวซื้อ เที่ยวลงทุน กิจการต่างประเทศ ในขณะที่คนในประเทศแห้งตายไปเรื่อยๆ
Planned economy หรือ เศรษฐกิจที่มีการวางแผนจากส่วนกลาง เหมาะกับประเทศไทยในเวลานี้เป็นอย่างมาก
แต่ถ้าพูดถึงระบบเศรษฐกิจ planned economy หรือแปลตรงตัวคือ เศรษฐกิจแบบวางแผน ความหมายคือ เศรษฐกิจที่ถูกกำหนดให้เป็นไปตามความต้องการของรัฐบาลหรือสังคมในเวลานั้น เช่น ผลิตเท่าไร่ ผลิตอย่างไร ราคาเท่าไร่ ค่าจ้างและผลตอบแทนแก่แรงงานเท่าไร่ ซึ่งถ้าดูจากปัญหาเศรษฐกิจไทย ที่เราเจอตอนนี้ คือ ราคาสินค้า ไม่สัมพันธ์กับรายได้ หรือ ความเหลื่อมล้ำ ซึ่งก็มักจะมีข้ออ้างว่า เราติดกับดักรายปานกลาง ข้ออ้างนี้ ดูเหมือนสมเหตุสมผล แต่พอ ถามว่า ราคาอาหารฟาสฟู้ดส์ในต่างประเทศราคาเกือบเท่าที่ไทยหรือถูกกว่า ทั้งๆที่ แต่ ค่าแรง เงินเดือน ที่ถูกนับว่าเป็นส่วนหนึ่งต้นทุน ของพนักงานในร้านนั้นๆสูงกว่าไทยสัก 10 เท่า ต่อ ช.ม เห็นจะได้ แต่เขาไม่ขาดทุน วกมาที่ไทย ส่วนต่าง ของค่าแรง ไปอยู่ที่ไหน เพราะขายเท่ากันแต่ต้นทุนที่เป็นค่าแรงถูกว่า 10 เท่า ถ้าค่าแรงถูกกว่า 10 เท่า สินค้าก็ควรจะถูกกว่า 10 เท่า หลายๆคน เจอคำถามนี้ ใบ้กินกันหมด ไม่รู้จะอ้างอะไร ดังนั้นมายาคติที่ว่า เราติดกับดักรายได้ปานกลาง หรือ ไม่มีเทคโนโลยี ก็ถูกตีตกไปอย่างง่ายดาย และถ้าตามตรรกะนี้ เราสามารถขึ้นค่าแรง อย่างน้อย 4-5 เท่า โดยมีผลทันทีในวันพรุ่งนี้ โดยไม่ต้องขึ้นราคาสินค้า แม้แต่บาทเดียวก็ย่อมทำได้ เพราะเราไม่เคยรู้ว่า จริงๆแล้ว ต้นทุนสินค้า ชิ้นหนึ่ง มันเท่ากันแน่ เศรษฐกิจแบบทุนนิยมเสรี กำไรต้องมาก่อน รัฐบาลควบคุมไม่ได้ ปล่อยให้ผลิต ปล่อยให้ตั้งราคากันเอง ปล่อยให้กดขี่แรงงานจนชินชา
เหมือนพวกราคาสินค้าเกษตร ที่นายทุนรับซื้อถูกๆแล้วมาขายแพงๆ ไก่สดโลละ 150 ไข่เบอร์ 1 แผง 150 เนื้อหมู โล 250 ทั้งหมดนี้ไม่เกี่ยวกับต้นทุนหรือใดๆทั้งสิ้น แต่เป็นเพราะเขาอยากขายราคาเท่านี้ ไม่มีเงินซื้อก็ส่งไปขายนอก แล้วอ้างว่าเป็นครัวโลก สิ่งเหล่านี้เกิดขึ้นมาโดยตลอด เพราะรัฐบาลไม่ผูกขาดการรับซื้อเอง แล้วขายแปรรูปมาขายให้ประชาชนอีกทอดนึงในราคาที่ยุติธรรม
สิ่งที่ควรทำเร่งด่วนคือ รัฐบาลต้องริเริ่มระบบเศรษฐกิจแบบวางแผนจากส่วนกลาง Nationalized กิจการทั้งในประเทศและต่างชาติ ให้เหลือไว้แต่ ธุรกิจส่วนตัวขนาดเล็กเท่านั้น เช่น อาหาร พลังงาน ขนส่ง และ อื่นๆ วางแผนการผลิตให้มีประสิทธิภาพ จ่ายค่าจ้างและเงินเดือนที่เป็นธรรม มีการแสดงผลกำไร และ รายได้ แก่สาธารณะ เพื่อไม่ให้มีการสะสมทุนโดยคนไม่กี่กลุ่มมากจนเกินไป และควบคุมการไหลเข้าออกของเงินทุนอย่างเข้มงวด เราก็จะไม่เห็นข่าวที่ว่า นายทุนขนเงินไปเที่ยวซื้อ เที่ยวลงทุน กิจการต่างประเทศ ในขณะที่คนในประเทศแห้งตายไปเรื่อยๆ