จากภาพจะเห็นว่า อัตราเงินเฟ้อเคลื่อนไหวตามราคาน้ำมันอย่างมีนัยยะ แต่ปกติ inflation จะเคลื่อนไหวด้วยอัตราส่วนในกรอบที่ต่ำกว่าราคาน้ำมัน แต่รอบนี้ ถีบตัวขึ้นสูงกว่า แสดงว่ายกเว้นน้ำมันแล้ว มีราคาสินค้าชนิดอื่นร่วมด้วยช่วยกันดันเงินเฟ้อ ทั้งค่าขนส่ง รวมไปถึงทั้ง soft และ hard commodities รวมไปถึงค่าเช่าบ้าน+เงินเดือน อันนี้เป็นอะไรที่น่าห่วงเช่นกัน ว่าในระยะสั้นเงินเฟ้อจะสามารถลงได้อย่างมีนัยยะจริงหรือไม่ เพราะมันไม่ใช่แค่ราคาน้ำมันแล้ว
จากกราฟเส้นประคือจุดที่ราคาน้ำมันเพิ่มราคาเป็น 2 เท่าของ MA ระดับ 5 ปี หลายครั้งที่มัน spikes ขึ้นมาถึงจุดนี้ จะตามมาด้วย recession ให้เบาใจได้นิดนึงว่า ถ้าราคาน้ำมันปรับลงเลยตั้งแต่ในครึ่งหลังของเดือนที่แล้ว เรายังปริ่มๆ threshold นี้
สภาวะเงินเฟ้อจะ peak ในไตรมาสนี้ได้หรือไม่ ยังดูน่าห่วง แล้วสภาวะ recession ล่ะ จะมาไหม ไม่มีใครรู้ แม้แต่ FED เราก็ได้แต่หวังว่า เงินเฟ้อจะคลี่คลายได้ด้วยตัวของมันเอง แม้มันจะยาก แต่อะไรก็เป็นไปได้ในโลกใบนี้ เมื่อว่ากันถึงเรื่องอนาคต
ปกติ ตลาดจะเป็น call premium
แต่ในสภาวะปัจจุบัน small trader call/put ratio บอกว่าตอนนี้ ความกลัวปกคลุมตลาดอย่างรุนแรง trader รายย่อยยิง put มากเป็นประวัติการณ์ สูงกว่าสมัย hamburger crisis และ covid 2020 เสียอีก (สังเกตอะไรไหม ทิ่มลงมาทีไร ก็ bottom เกือบทุกที)
ในโลกที่ทฤษฎีการเงินยุคใหม่ ผมยังเชื่อว่า crisis แต่ละครั้งที่จะเกิดต่อไป จะมาในรูปแบบที่เราไม่ได้นึกถึง
ซึ่งขัดแย้งกับความรู้สึกในตอนนี้ ที่ทุกคนรู้สึกว่ามันกำลังเกิดวิกฤติ
เมื่อคนส่วนใหญ่เชื่อว่ามันจะเกิด crisis แล้ว crisis มันจะเกิดจริงหรือ? เป็นคำถามที่ผม ถามตัวเองประจำ ในเมื่อทุกคนคาดว่ามันจะเกิดวิกฤติ พวกเขาจะพยายามให้มันไม่เกิดใช่หรือไม่ หรือพยายามหนีจากสภาวะนั้นใช่หรือไม่
ตัวอย่างเช่นกองทุนที่ไป call น้ำมันไว้ เมื่อเชื่อว่า น้ำมันขึ้นมาถึงจุดหนึ่งแล้ว จนโลกกำลังเข้าสู่ภาวะถดถอย พวกเขาจะลงทุนโดยการ call ต่อไปได้จริงหรือ ในเมื่อ damand มันจะต้องลดลงตามภาวะ recession ออกก่อนได้ก่อน ออกทีหลังล้างชามใช่หรือไม่ พวกที่กำไรแล้ว ต้องเริ่มมีความคิดนี้ในหัว ฯลฯ
กราฟนี้แสดง S&P หลังเงินเฟ้อ peak
แกน x 0 คือจุดเงินเฟ้อ peak ก่อน 0 คือก่อนเงินเฟ้อ peak หลัง 0 คือหลังเงินเฟ้อ peak
จะเห็นว่า หลังการ peak ของเงินเฟ้อ ค่าเฉลี่ย 70 ปี s&P ให้ผลตอบแทนเฉลี่ย 15% เป็นอย่างน้อยในช่วง 1 ปีให้หลัง
คำถามคือ เงินเฟ้อ peak ไปแล้วหรือยัง?
ทั้งหมดเป็นสถิติ และไม่มีอะไรแน่นอนในตลาดหุ้น ยกเว้นความไม่แน่นอน
ตลาดหุ้นอเมริกา ถ้า inflation peak เราควรกลัว recession?
จากภาพจะเห็นว่า อัตราเงินเฟ้อเคลื่อนไหวตามราคาน้ำมันอย่างมีนัยยะ แต่ปกติ inflation จะเคลื่อนไหวด้วยอัตราส่วนในกรอบที่ต่ำกว่าราคาน้ำมัน แต่รอบนี้ ถีบตัวขึ้นสูงกว่า แสดงว่ายกเว้นน้ำมันแล้ว มีราคาสินค้าชนิดอื่นร่วมด้วยช่วยกันดันเงินเฟ้อ ทั้งค่าขนส่ง รวมไปถึงทั้ง soft และ hard commodities รวมไปถึงค่าเช่าบ้าน+เงินเดือน อันนี้เป็นอะไรที่น่าห่วงเช่นกัน ว่าในระยะสั้นเงินเฟ้อจะสามารถลงได้อย่างมีนัยยะจริงหรือไม่ เพราะมันไม่ใช่แค่ราคาน้ำมันแล้ว
จากกราฟเส้นประคือจุดที่ราคาน้ำมันเพิ่มราคาเป็น 2 เท่าของ MA ระดับ 5 ปี หลายครั้งที่มัน spikes ขึ้นมาถึงจุดนี้ จะตามมาด้วย recession ให้เบาใจได้นิดนึงว่า ถ้าราคาน้ำมันปรับลงเลยตั้งแต่ในครึ่งหลังของเดือนที่แล้ว เรายังปริ่มๆ threshold นี้
สภาวะเงินเฟ้อจะ peak ในไตรมาสนี้ได้หรือไม่ ยังดูน่าห่วง แล้วสภาวะ recession ล่ะ จะมาไหม ไม่มีใครรู้ แม้แต่ FED เราก็ได้แต่หวังว่า เงินเฟ้อจะคลี่คลายได้ด้วยตัวของมันเอง แม้มันจะยาก แต่อะไรก็เป็นไปได้ในโลกใบนี้ เมื่อว่ากันถึงเรื่องอนาคต
ปกติ ตลาดจะเป็น call premium
แต่ในสภาวะปัจจุบัน small trader call/put ratio บอกว่าตอนนี้ ความกลัวปกคลุมตลาดอย่างรุนแรง trader รายย่อยยิง put มากเป็นประวัติการณ์ สูงกว่าสมัย hamburger crisis และ covid 2020 เสียอีก (สังเกตอะไรไหม ทิ่มลงมาทีไร ก็ bottom เกือบทุกที)
ในโลกที่ทฤษฎีการเงินยุคใหม่ ผมยังเชื่อว่า crisis แต่ละครั้งที่จะเกิดต่อไป จะมาในรูปแบบที่เราไม่ได้นึกถึง
ซึ่งขัดแย้งกับความรู้สึกในตอนนี้ ที่ทุกคนรู้สึกว่ามันกำลังเกิดวิกฤติ
เมื่อคนส่วนใหญ่เชื่อว่ามันจะเกิด crisis แล้ว crisis มันจะเกิดจริงหรือ? เป็นคำถามที่ผม ถามตัวเองประจำ ในเมื่อทุกคนคาดว่ามันจะเกิดวิกฤติ พวกเขาจะพยายามให้มันไม่เกิดใช่หรือไม่ หรือพยายามหนีจากสภาวะนั้นใช่หรือไม่
ตัวอย่างเช่นกองทุนที่ไป call น้ำมันไว้ เมื่อเชื่อว่า น้ำมันขึ้นมาถึงจุดหนึ่งแล้ว จนโลกกำลังเข้าสู่ภาวะถดถอย พวกเขาจะลงทุนโดยการ call ต่อไปได้จริงหรือ ในเมื่อ damand มันจะต้องลดลงตามภาวะ recession ออกก่อนได้ก่อน ออกทีหลังล้างชามใช่หรือไม่ พวกที่กำไรแล้ว ต้องเริ่มมีความคิดนี้ในหัว ฯลฯ
กราฟนี้แสดง S&P หลังเงินเฟ้อ peak
แกน x 0 คือจุดเงินเฟ้อ peak ก่อน 0 คือก่อนเงินเฟ้อ peak หลัง 0 คือหลังเงินเฟ้อ peak
จะเห็นว่า หลังการ peak ของเงินเฟ้อ ค่าเฉลี่ย 70 ปี s&P ให้ผลตอบแทนเฉลี่ย 15% เป็นอย่างน้อยในช่วง 1 ปีให้หลัง
คำถามคือ เงินเฟ้อ peak ไปแล้วหรือยัง?
ทั้งหมดเป็นสถิติ และไม่มีอะไรแน่นอนในตลาดหุ้น ยกเว้นความไม่แน่นอน