คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 16
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
รวมสไลด์แถลงสถานการณ์โควิด-19 จาก ศบค.
วันพุธที่ 6 กรกฎาคม 2565
https://www.facebook.com/informationcovid19/posts/pfbid0KSaYdgedt9oGJTcUjSDxzWowGCkZ9hyqR3ZcpwZR5Vymfvzge3GsQM9UkXdp3avZl
จำนวนการได้รับวัคซีนสะสม (28 ก.พ. 2564 - 5 ก.ค. 2565)
รวม 140,093,506 โดส ใน 77 จังหวัด
ภาพรวมยอดฉีดวัคซีน วันที่ 5 กรกฎาคม 2565
ยอดฉีดทั่วประเทศ 44,174 โดส
เข็มที่ 1 : 4,858 ราย
เข็มที่ 2 : 10,700 ราย
เข็มที่ 3 : 28,616 ราย
จำนวนผู้ได้รับวัคซีน เข็มที่ 1 สะสม : 57,008,546 ราย
จำนวนผู้ได้รับวัคซีน เข็มที่ 2 สะสม : 53,227,710 ราย
จำนวนผู้ได้รับวัคซีน เข็มที่ 3 สะสม : 29,857,250 ราย
แหล่งข้อมูล : MOPH-IC
https://www.facebook.com/informationcovid19/posts/pfbid02XjW47UfErB1fzMfQ6P75hpbvv1vSBP932XPkQiNXhW9or2HYZ2UcxA3hMCJ6bfg7l
คลายข้อข้องใจ
ใช้รถไฟฟ้าอย่างไร ? ปลอดภัยโควิด
• สวมหน้ากากอนามัย ตลอดเวลาขณะเดินทาง
• คัดกรองอุณหภูมิ ก่อนเข้าใช้บริการทุกครั้ง
• ล้างมือด้วยเจลแอลกอฮอล์ เมื่อสัมผัสกับจุดต่าง ๆ บนรถไฟฟ้า
• ลดการพูดคุยขณะอยู่ในขบวนรถ พร้อมเว้นระยะห่างระหว่างบุคคล
ที่มา : กระทรวงวัฒนธรรม
https://www.facebook.com/informationcovid19/posts/pfbid0BGcBG76km1Wtcg1vDg5pBxsyVEbBGQqvwNNPJb3eDr2bkqK8Mw9pHJUADQCGK468l
แนวปฏิบัติผู้ติดเชื้อโควิด – 19 สิทธิบัตรทอง
ตั้งแต่ 4 ก.ค. เป็นต้นไป รองรับการเข้าสู่โรคประจำถิ่น
ที่มา : สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
https://www.facebook.com/informationcovid19/posts/pfbid026ADAJ5VMa6xtakCLJtLE31gkxJfht4itAaU6GFzhbjaXHBkggTiyxKyd6RWRPM1al
รายละเอียดผู้เสียชีวิตของประเทศไทย
วันพุธที่ 6 กรกฎาคม 2565 จำนวน 22 ราย
แหล่งข้อมูล : กระทรวงสาธารณสุข
https://www.facebook.com/informationcovid19/posts/pfbid0HShyUesktHQKKZNtoMgtgpMw61XFbxPiC6eSiVABcnkouwYN5UTv2kUKkVviwAczl
เมื่อติดเชื้อโควิด ไอ เจ็บคอ เป็นอาการที่พบบ่อย
หากผู้ป่วยแยกรักษาตัวที่บ้าน สามารถดูแลตัวเองตามวิธีต่อไปนี้
ควบคู่กับการรักษาตามคำแนะนำแพทย์
ที่มา : สสส. (สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ) : ThaiHealth
https://www.facebook.com/informationcovid19/posts/pfbid0Bts8MPfvygvZGm1vdFGxJAqtDHGsfknjK18jDp7T9wzunTxoDciDkZnGSjjxDwf5l
โรงพยาบาลคลองสามวา
เปิด Walk in และ สามารถจอง "วัคซีนCOVID-19" ผ่านแอปฯ QueQ
ที่มา : สำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร
https://web.facebook.com/informationcovid19/posts/pfbid02aKZFXBJgGYhTogSKzkY2ymv8q35otLq1Qb2vDMyoNKKtSmG63wFat6Ti2Q4R2Axzl
ไวรัสกลายพันธุ์โอมิครอน สายพันธุ์ย่อย BA.4 และ BA.5 พบการระบาดในประเทศเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง
สามารถแพร่เชื้อเพิ่มขึ้น หลบภูมิคุ้มกันได้มากขึ้น ทำให้ติดเชื้อได้ง่าย
แม้จะมีภูมิคุ้มกันที่เกิดจากการติดเชื้อโดยธรรมชาติ หรือฉีดวัคซีนมาแล้วระยะหนึ่งก็อาจติดเชื้อได้
กลุ่มเสี่ยงสูงที่หากติดเชื้อมีโอกาสที่จะมีอาการรุนแรง จำเป็นต้องเข้ารับวัคซีนเข็มกระตุ้นโดยด่วน คือ กลุ่ม 608 ได้แก่ ผู้มีอายุ 60 ปีขึ้นไป, ผู้มีโรคประจำตัวในกลุ่ม 7 โรค และหญิงตั้งครรภ์ที่มีอายุครรภ์ 12 สัปดาห์ขึ้นไป
ดังนั้น ผู้ที่ได้รับวัคซีนมานานแล้ว และยังไม่ได้รับวัคซีนเข็มกระตุ้น ควรรีบเข้ารับวัคซีนโดยด่วน!!
https://www.facebook.com/nvikm/posts/pfbid02HJBsarkGszZJMzkHa6q1GyaqhaNsXMFiXwStdn5RscGXqZ5jMTZpmy898YdkgqJ2l
ลงนามแล้ว! การจัดหาแอนติบอดีสำเร็จรูป (LAAB) 2.5 แสนโดส ป้องกัน “โควิด” ในผู้ป่วยภูมิคุ้มกันต่ำ
กระทรวงสาธารณสุข เผยความคืบหน้าการจัดหาแอนติบอดีสำเร็จรูป แบบ Long Acting Antibodies (LAAB) ของ บ.แอสตร้าเซนเนก้า จำนวน 2.5 แสนโดส เพื่อใช้ป้องกันการติดเชื้อในกลุ่มผู้ป่วยไตวายเรื้อรัง ปลูกถ่ายอวัยวะ ปลูกถ่ายไขกระดูก ที่ได้รับยากดภูมิคุ้มกัน ซึ่งเป็นกลุ่มเสี่ยงเกิดอาการรุนแรงและเสียชีวิตจากโควิด-19 ได้ โดยล่าสุด (6 ก.ค. 65) ได้ลงนามในสัญญาแล้ว
LAAB เป็นแอนติบอดีสำเร็จรูปที่ออกฤทธิ์ยาว โดยสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) ได้อนุมัติให้ใช้ในภาวะฉุกเฉินแล้วเมื่อวันที่ 27 มิ.ย. 65 เช่นเดียวกับที่สหรัฐฯ และอังกฤษ ซึ่งจะใช้กับผู้ที่ภูมิคุ้มกันต่ำ อายุ 12 ปีขึ้นไป น้ำหนักตัวไม่น้อยกว่า 40 กก. เป็นการฉีดเข้ากล้ามเนื้อทุก 6 เดือน (ก่อนการสัมผัสโรค) และพบว่ามีประสิทธิผล 83% ในการลดความเสี่ยงอาการรุนแรง
การจัดหาแอนติบอดีสำเร็จรูป (LAAB) ครั้งนี้ เป็นการขอปรับสัญญากับ บ.แอสตร้าเซนเนก้า (ประเทศไทย) โดยเปลี่ยนจากวัคซีนบางส่วนมาเป็น LAAB ซึ่งอยู่ภายในกรอบวงเงินงบประมาณเดิมที่ ครม. เคยอนุมัติ ทำให้ไม่ต้องใช้งบประมาณในการจัดหาเพิ่ม ส่งผลให้ประเทศไทยจะมีทั้งวัคซีนและแอนตีบอดีสำเร็จรูปในการดูแลประชาชนได้ครอบคลุมยิ่งขึ้น
https://web.facebook.com/ThaigovSpokesman/posts/pfbid0DSXVdnJuAurQJxJrmsy2u6gdm2odcbHv6syYJoCwkzqG3cmMVJcTUbBAFASKXhcUl
สธ. เผย BA.4/BA.5 ในประเทศไทยเพิ่มขึ้น ยังไม่พบรุนแรงมาก ย้ำ!! สวมหน้ากาก ล้างมือ เว้นระยะห่าง ฉีดวัคซีนเข็มกระตุ้นช่วยสู้กับเชื้อได้
นพ.ศุภกิจ ศิริลักษณ์ อธิบดีกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กล่าวถึง การเฝ้าระวังโควิด-19 สายพันธุ์ BA.4 และ BA.5 ว่า จากการตรวจสายพันธุ์เบื้องต้นช่วงวันที่ 25 มิถุนายน - 1 กรกฎาคม 2565 พบว่า เป็นสายพันธุ์โอมิครอน 100% จำนวนนี้เป็นสายพันธุ์ย่อย BA.4/BA.5 ครึ่งหนึ่งคือ 51.58% เพิ่มขึ้นจาก 2 สัปดาห์ก่อนที่พบ คาดว่าอีกไม่นานจะแทนที่ตัวเก่า BA.2 ส่วนผู้ป่วยในโรงพยาบาลที่เริ่มกลับมาพบมากขึ้นนั้น ยังไม่ชัดเจนว่าเกิดจากเชื้อ BA.4/BA.5 ยังต้องรอการพิสูจน์ เนื่องจากตามปกติเมื่อมีการติดเชื้อมากขึ้น สัดส่วนของผู้ป่วยอาการหนักก็จะเพิ่มมากขึ้นตามไปด้วย
จากการเก็บข้อมูลตัวอย่างกลุ่มที่ผู้ติดเชื้อรายใหม่ ภาพรวมของประเทศ จำนน 175 ราย เป็น BA.4/BA.5 ประมาณ 35.8% เมื่อแยกดูตามกลุ่มต่างๆ พบว่า กลุ่มบุคลากรทางการแพทย์ 44 ราย กลุ่มผู้ติดเชื้อที่มีค่า CT ต่ำหรือติดเชื้อเยอะ 19 ราย และกลุ่มที่มีอาการรุนแรง 11 ราย จะเห็นว่าสัดส่วนไม่ได้แตกต่างกัน จึงยังไม่ปรากฏว่ามีความรุนแรงจาก BA.4/BA.5 เมื่อเทียบกับ BA.2 เดิม เพียงแต่กลุ่มผู้ป่วยอาการรุนแรงยังมีตัวอย่างน้อย 11 ราย
ย้ำว่ามาตรการส่วนบุคคลยังจำเป็น การใส่หน้ากาก ล้างมือ เลี่ยงไปกิจกรรมสถานที่แออัด แม้ไม่ได้บังคับแต่ขอให้เป็นสุขนิสัย รวมถึงฉีดวัคซีนเข็มกระตุ้นเพื่อให้ภูมิคุ้มกันสูงมากพอก็จะสู้กับสายพันธุ์ใหม่ๆ ได้ โดยเฉพาะกลุ่ม 608
https://www.facebook.com/Sumnakkaow.PRD/posts/pfbid0T3F1ggeMhGq2ZhTwLN4crAcamycW7zoxg4E5cwTHtmQEXaqzfsXdreFsrSCy2NkLl
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
รวมสไลด์แถลงสถานการณ์โควิด-19 จาก ศบค.
วันพุธที่ 6 กรกฎาคม 2565
https://www.facebook.com/informationcovid19/posts/pfbid0KSaYdgedt9oGJTcUjSDxzWowGCkZ9hyqR3ZcpwZR5Vymfvzge3GsQM9UkXdp3avZl
จำนวนการได้รับวัคซีนสะสม (28 ก.พ. 2564 - 5 ก.ค. 2565)
รวม 140,093,506 โดส ใน 77 จังหวัด
ภาพรวมยอดฉีดวัคซีน วันที่ 5 กรกฎาคม 2565
ยอดฉีดทั่วประเทศ 44,174 โดส
เข็มที่ 1 : 4,858 ราย
เข็มที่ 2 : 10,700 ราย
เข็มที่ 3 : 28,616 ราย
จำนวนผู้ได้รับวัคซีน เข็มที่ 1 สะสม : 57,008,546 ราย
จำนวนผู้ได้รับวัคซีน เข็มที่ 2 สะสม : 53,227,710 ราย
จำนวนผู้ได้รับวัคซีน เข็มที่ 3 สะสม : 29,857,250 ราย
แหล่งข้อมูล : MOPH-IC
https://www.facebook.com/informationcovid19/posts/pfbid02XjW47UfErB1fzMfQ6P75hpbvv1vSBP932XPkQiNXhW9or2HYZ2UcxA3hMCJ6bfg7l
คลายข้อข้องใจ
ใช้รถไฟฟ้าอย่างไร ? ปลอดภัยโควิด
• สวมหน้ากากอนามัย ตลอดเวลาขณะเดินทาง
• คัดกรองอุณหภูมิ ก่อนเข้าใช้บริการทุกครั้ง
• ล้างมือด้วยเจลแอลกอฮอล์ เมื่อสัมผัสกับจุดต่าง ๆ บนรถไฟฟ้า
• ลดการพูดคุยขณะอยู่ในขบวนรถ พร้อมเว้นระยะห่างระหว่างบุคคล
ที่มา : กระทรวงวัฒนธรรม
https://www.facebook.com/informationcovid19/posts/pfbid0BGcBG76km1Wtcg1vDg5pBxsyVEbBGQqvwNNPJb3eDr2bkqK8Mw9pHJUADQCGK468l
แนวปฏิบัติผู้ติดเชื้อโควิด – 19 สิทธิบัตรทอง
ตั้งแต่ 4 ก.ค. เป็นต้นไป รองรับการเข้าสู่โรคประจำถิ่น
ที่มา : สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
https://www.facebook.com/informationcovid19/posts/pfbid026ADAJ5VMa6xtakCLJtLE31gkxJfht4itAaU6GFzhbjaXHBkggTiyxKyd6RWRPM1al
รายละเอียดผู้เสียชีวิตของประเทศไทย
วันพุธที่ 6 กรกฎาคม 2565 จำนวน 22 ราย
แหล่งข้อมูล : กระทรวงสาธารณสุข
https://www.facebook.com/informationcovid19/posts/pfbid0HShyUesktHQKKZNtoMgtgpMw61XFbxPiC6eSiVABcnkouwYN5UTv2kUKkVviwAczl
เมื่อติดเชื้อโควิด ไอ เจ็บคอ เป็นอาการที่พบบ่อย
หากผู้ป่วยแยกรักษาตัวที่บ้าน สามารถดูแลตัวเองตามวิธีต่อไปนี้
ควบคู่กับการรักษาตามคำแนะนำแพทย์
ที่มา : สสส. (สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ) : ThaiHealth
https://www.facebook.com/informationcovid19/posts/pfbid0Bts8MPfvygvZGm1vdFGxJAqtDHGsfknjK18jDp7T9wzunTxoDciDkZnGSjjxDwf5l
โรงพยาบาลคลองสามวา
เปิด Walk in และ สามารถจอง "วัคซีนCOVID-19" ผ่านแอปฯ QueQ
ที่มา : สำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร
https://web.facebook.com/informationcovid19/posts/pfbid02aKZFXBJgGYhTogSKzkY2ymv8q35otLq1Qb2vDMyoNKKtSmG63wFat6Ti2Q4R2Axzl
ไวรัสกลายพันธุ์โอมิครอน สายพันธุ์ย่อย BA.4 และ BA.5 พบการระบาดในประเทศเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง
สามารถแพร่เชื้อเพิ่มขึ้น หลบภูมิคุ้มกันได้มากขึ้น ทำให้ติดเชื้อได้ง่าย
แม้จะมีภูมิคุ้มกันที่เกิดจากการติดเชื้อโดยธรรมชาติ หรือฉีดวัคซีนมาแล้วระยะหนึ่งก็อาจติดเชื้อได้
กลุ่มเสี่ยงสูงที่หากติดเชื้อมีโอกาสที่จะมีอาการรุนแรง จำเป็นต้องเข้ารับวัคซีนเข็มกระตุ้นโดยด่วน คือ กลุ่ม 608 ได้แก่ ผู้มีอายุ 60 ปีขึ้นไป, ผู้มีโรคประจำตัวในกลุ่ม 7 โรค และหญิงตั้งครรภ์ที่มีอายุครรภ์ 12 สัปดาห์ขึ้นไป
ดังนั้น ผู้ที่ได้รับวัคซีนมานานแล้ว และยังไม่ได้รับวัคซีนเข็มกระตุ้น ควรรีบเข้ารับวัคซีนโดยด่วน!!
https://www.facebook.com/nvikm/posts/pfbid02HJBsarkGszZJMzkHa6q1GyaqhaNsXMFiXwStdn5RscGXqZ5jMTZpmy898YdkgqJ2l
ลงนามแล้ว! การจัดหาแอนติบอดีสำเร็จรูป (LAAB) 2.5 แสนโดส ป้องกัน “โควิด” ในผู้ป่วยภูมิคุ้มกันต่ำ
กระทรวงสาธารณสุข เผยความคืบหน้าการจัดหาแอนติบอดีสำเร็จรูป แบบ Long Acting Antibodies (LAAB) ของ บ.แอสตร้าเซนเนก้า จำนวน 2.5 แสนโดส เพื่อใช้ป้องกันการติดเชื้อในกลุ่มผู้ป่วยไตวายเรื้อรัง ปลูกถ่ายอวัยวะ ปลูกถ่ายไขกระดูก ที่ได้รับยากดภูมิคุ้มกัน ซึ่งเป็นกลุ่มเสี่ยงเกิดอาการรุนแรงและเสียชีวิตจากโควิด-19 ได้ โดยล่าสุด (6 ก.ค. 65) ได้ลงนามในสัญญาแล้ว
LAAB เป็นแอนติบอดีสำเร็จรูปที่ออกฤทธิ์ยาว โดยสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) ได้อนุมัติให้ใช้ในภาวะฉุกเฉินแล้วเมื่อวันที่ 27 มิ.ย. 65 เช่นเดียวกับที่สหรัฐฯ และอังกฤษ ซึ่งจะใช้กับผู้ที่ภูมิคุ้มกันต่ำ อายุ 12 ปีขึ้นไป น้ำหนักตัวไม่น้อยกว่า 40 กก. เป็นการฉีดเข้ากล้ามเนื้อทุก 6 เดือน (ก่อนการสัมผัสโรค) และพบว่ามีประสิทธิผล 83% ในการลดความเสี่ยงอาการรุนแรง
การจัดหาแอนติบอดีสำเร็จรูป (LAAB) ครั้งนี้ เป็นการขอปรับสัญญากับ บ.แอสตร้าเซนเนก้า (ประเทศไทย) โดยเปลี่ยนจากวัคซีนบางส่วนมาเป็น LAAB ซึ่งอยู่ภายในกรอบวงเงินงบประมาณเดิมที่ ครม. เคยอนุมัติ ทำให้ไม่ต้องใช้งบประมาณในการจัดหาเพิ่ม ส่งผลให้ประเทศไทยจะมีทั้งวัคซีนและแอนตีบอดีสำเร็จรูปในการดูแลประชาชนได้ครอบคลุมยิ่งขึ้น
https://web.facebook.com/ThaigovSpokesman/posts/pfbid0DSXVdnJuAurQJxJrmsy2u6gdm2odcbHv6syYJoCwkzqG3cmMVJcTUbBAFASKXhcUl
สธ. เผย BA.4/BA.5 ในประเทศไทยเพิ่มขึ้น ยังไม่พบรุนแรงมาก ย้ำ!! สวมหน้ากาก ล้างมือ เว้นระยะห่าง ฉีดวัคซีนเข็มกระตุ้นช่วยสู้กับเชื้อได้
นพ.ศุภกิจ ศิริลักษณ์ อธิบดีกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กล่าวถึง การเฝ้าระวังโควิด-19 สายพันธุ์ BA.4 และ BA.5 ว่า จากการตรวจสายพันธุ์เบื้องต้นช่วงวันที่ 25 มิถุนายน - 1 กรกฎาคม 2565 พบว่า เป็นสายพันธุ์โอมิครอน 100% จำนวนนี้เป็นสายพันธุ์ย่อย BA.4/BA.5 ครึ่งหนึ่งคือ 51.58% เพิ่มขึ้นจาก 2 สัปดาห์ก่อนที่พบ คาดว่าอีกไม่นานจะแทนที่ตัวเก่า BA.2 ส่วนผู้ป่วยในโรงพยาบาลที่เริ่มกลับมาพบมากขึ้นนั้น ยังไม่ชัดเจนว่าเกิดจากเชื้อ BA.4/BA.5 ยังต้องรอการพิสูจน์ เนื่องจากตามปกติเมื่อมีการติดเชื้อมากขึ้น สัดส่วนของผู้ป่วยอาการหนักก็จะเพิ่มมากขึ้นตามไปด้วย
จากการเก็บข้อมูลตัวอย่างกลุ่มที่ผู้ติดเชื้อรายใหม่ ภาพรวมของประเทศ จำนน 175 ราย เป็น BA.4/BA.5 ประมาณ 35.8% เมื่อแยกดูตามกลุ่มต่างๆ พบว่า กลุ่มบุคลากรทางการแพทย์ 44 ราย กลุ่มผู้ติดเชื้อที่มีค่า CT ต่ำหรือติดเชื้อเยอะ 19 ราย และกลุ่มที่มีอาการรุนแรง 11 ราย จะเห็นว่าสัดส่วนไม่ได้แตกต่างกัน จึงยังไม่ปรากฏว่ามีความรุนแรงจาก BA.4/BA.5 เมื่อเทียบกับ BA.2 เดิม เพียงแต่กลุ่มผู้ป่วยอาการรุนแรงยังมีตัวอย่างน้อย 11 ราย
ย้ำว่ามาตรการส่วนบุคคลยังจำเป็น การใส่หน้ากาก ล้างมือ เลี่ยงไปกิจกรรมสถานที่แออัด แม้ไม่ได้บังคับแต่ขอให้เป็นสุขนิสัย รวมถึงฉีดวัคซีนเข็มกระตุ้นเพื่อให้ภูมิคุ้มกันสูงมากพอก็จะสู้กับสายพันธุ์ใหม่ๆ ได้ โดยเฉพาะกลุ่ม 608
https://www.facebook.com/Sumnakkaow.PRD/posts/pfbid0T3F1ggeMhGq2ZhTwLN4crAcamycW7zoxg4E5cwTHtmQEXaqzfsXdreFsrSCy2NkLl
แสดงความคิดเห็น
🇹🇭มาลาริน💚6ก.ค.ไทยไม่ติดTop10โลก/ป่วย2,428คน หายป่วย2,049คน เสียชีวิต22คน/หมอ ยง ชี้รอบนี้นักเรียนเป็นผู้ขยายเชื้อ
https://www.sanook.com/news/8587786/
https://www.bangkokbiznews.com/social/1013878
https://www.bangkokbiznews.com/social/1013898?
ง'ชี้โควิดรอบนี้นักเรียนเป็นผู้ขยายเชื้อ แนะควรมีมาตรการป้องกัน-ไม่ควรปิดโรงเรียน
วันที่ 6 กรกฎาคม 2565 ศ.นพ.ยง ภู่วรวรรณ หัวหน้าศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านไวรัสวิทยาคลินิก ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โพสต์เฟซบุ๊กในหัวข้อ “โควิด 19 นักเรียนจะเป็นผู้ขยายและกระจายโรค การระบาดของโรคมากขึ้น” ระบุว่า...👇
เช่นเดียวกันกับโรคทางเดินหายใจอื่น เช่นไข้หวัดใหญ่ การระบาดของโรคจะพบสูงมากในช่วงเปิดเทอมหรือฤดูฝน เด็กนักเรียนจะรับเชื้อและติดต่อกันง่าย มันเป็นเช่นนั้นทุกปีของโรคทางเดินหายใจ
โควิด 19 ก็เช่นเดียวกันเมื่อมีการเปิดเทอม ทำให้การเพิ่มกระจายของโรคเพิ่มขึ้น
ความรุนแรงของโรคในเด็กนักเรียน และวัยรุ่น น้อยมาก แต่จะติดต่อกันเองและนำเชื้อกลับบ้านทำให้เกิดการติดต่อทั้งครอบครัว ซึ่งจะโยงไปถึงกลุ่มผู้สูงอายุ
อัตราการเสียชีวิตในเด็กนักเรียนที่แข็งแรงดีโดยเฉพาะที่อายุตั้งแต่ 3 ปีขึ้นไป จะมีอัตราการเสียชีวิตอยู่ที่ประมาณ 1 ในหมื่น การเสียชีวิตหรือรุนแรงในเด็ก ส่วนใหญ่จะเป็นผู้ที่มีโรคประจำตัว โรคเรื้อรังหรือกลุ่มเสี่ยงในเด็กกลุ่มที่จะเป็นอันตรายส่วนใหญ่จะอายุน้อยกว่า 2 ปี
การเรียนการศึกษามีความสำคัญอย่างยิ่ง ชีวิตต้องเดินหน้า การไปโรงเรียนของเด็กมีความสำคัญต่อระบบการศึกษาของประเทศ และยังช่วยเรื่องโภชนาการของเด็กต่างจังหวัด มาตรการในการป้องกันและลดการแพร่กระจายของเชื้อ มีความสำคัญยิ่ง ในโรงเรียน เช่นสุขอนามัย การล้างมืออยู่เป็นนิจและถูกวิธี ลดการรับประทานอาหารร่วมกัน ใส่หน้ากากอนามัย การกำหนดระยะห่างในช่วงที่มีการระบาดมาก
ประเทศสิงคโปร์ให้ความสำคัญกับการศึกษามาก ตั้งแต่ปีที่แล้วจนถึงปัจจุบัน แทบจะไม่มีการปิดเรียนเลย ใครป่วยก็ควรอยู่บ้าน เมื่อหายดีก็กลับมาเรียน ทุกคนเคร่งครัดระเบียบวินัย
ทุกคนต้องยอมรับความจริง และสนับสนุนการศึกษาให้ได้เดินหน้าต่อไป ร่วมใจกันปฏิบัติตนอย่างเคร่งครัด และไม่ควรปิดโรงเรียนโดยไม่จำเป็น ควรมุ่งเน้นมาตรการ ป้องกันโรคในโรงเรียนมากกว่า
https://www.naewna.com/local/664906
...ติดตามข่าวโควิดวันนี้ค่ะ
วันนี้ป่วยใหม่มากกว่าหายป่วยอีกแล้ว..
หมอ ยง ชี้รอบนี้นักเรียนเป็นผู้ขยายเชื้อ
ต้องระวังเด็กเล็กอายุต่ำกว่า2ปีนะคะ เพราะอายุช่วงนี้อันตรายที่สุด
ดูแลตัวเองด้วยค่ะ คุณลูกคุณหลานอาจพามาติด
คนกลุ่มเสี่ยงต้องฉีดวัคซีนต่ออย่าได้หยุดนะคะ