คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 18
กระทรวงสาธารณสุข แถลงสถานการณ์โควิด-19 ประจำวันที่ 3 กรกฎาคม 2565 เวลา 11.15 น.
https://www.facebook.com/fanmoph/videos/393718902738009/ (มีคลิป)
https://www.facebook.com/fanmoph/videos/1007868346560564/ (มีคลิป)
แถลงความคืบหน้าสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ณ กระทรวงสาธารณสุข
3 กรกฎาคม 2565
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
รวมสไลด์แถลงสถานการณ์โควิด-19 จาก ศบค.
วันจันทร์ที่ 4 กรกฎาคม 2565
https://www.facebook.com/informationcovid19/posts/pfbid03RJuUiL8hws8YgsoFnkpbmD7oJ5MFpX4si3oHRw1jeYffzZpQFizjw3UoQCKDDuWl
จำนวนการได้รับวัคซีนสะสม (28 ก.พ. 2564 - 3 ก.ค. 2565)
รวม 140,036,597 โดส ใน 77 จังหวัด
ภาพรวมยอดฉีดวัคซีน วันที่ 3 กรกฎาคม 2565
ยอดฉีดทั่วประเทศ 36,314 โดส
เข็มที่ 1 : 2,183 ราย
เข็มที่ 2 : 4,218 ราย
เข็มที่ 3 : 29,913 ราย
จำนวนผู้ได้รับวัคซีน เข็มที่ 1 สะสม : 57,002,226 ราย
จำนวนผู้ได้รับวัคซีน เข็มที่ 2 สะสม : 53,214,484 ราย
จำนวนผู้ได้รับวัคซีน เข็มที่ 3 สะสม : 29,819,887 ราย
แหล่งข้อมูล : MOPH-IC
https://www.facebook.com/informationcovid19/posts/pfbid0ARMQkESCPLQVhTNXyC8L8qBDWP81jKxq4fSPZn9V1rgSfNrFNhWLFZSoWBm7amGKl
กทม. ขอเชิญผู้ที่มีอายุ 18 ปีขึ้นไป ทุกสัญชาติ ฉีดวัคซีนโมเดอร์นาเข็มกระตุ้น (เข็ม 3 หรือ เข็ม 4) ฟรี
จำกัด "วันละ 500 คน" เท่านั้นนะ
ไปฉีดที่ลานกีฬาเวสน์ 1 ศูนย์เยาวชนกรุงเทพมหานคร (สนามกีฬาไทย-ญี่ปุ่น) เขตดินแดง ได้ทุกวัน เวลา 08.00 - 16.00 น. ตั้งแต่วันนี้ถึงวันที่ 15 ก.ค.65 หรือจนกว่าวัคซีนจะหมด
จะจองคิวผ่านแอป QueQ หรือจะเดิน Walk in เข้าไปเลยก็ได้นะ
อย่าลืม
• บัตรประชาชน หรือบัตรยืนยันตัวตนอื่น เช่น Passport
• ปากกาส่วนตัว
สอบถามเพิ่มเติมได้ที่ สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร 0 2203 2883
ที่มา: กรุงเทพมหานคร
https://www.facebook.com/informationcovid19/posts/pfbid02zqoHUpJLuccDEXwTVyfUUHFtPGu5wmSkinSrVV69tMgrfJndUh6sdiVkhBHdQkkel
เตือน !! รับประทานอาหารร่วมกัน
จุดเสี่ยงติดโควิด-19
ย้ำการ์ดอย่าตก
ที่มา: กระทรวงวัฒนธรรม
https://www.facebook.com/informationcovid19/posts/pfbid02FZH1ZtTDYjWu4XAWvRBysGUtVwKqSvTwzUXrzNic3GAJRGPMx1zx79uXRS6tFaBTl
รายละเอียดผู้เสียชีวิตของประเทศไทย
วันจันทร์ที่ 4 กรกฎาคม 2565 จำนวน 18 ราย
แหล่งข้อมูล : กระทรวงสาธารณสุข
https://www.facebook.com/informationcovid19/posts/pfbid02NxFfnjQrLvCnrPcw9mDyikJfgRR2hR1CceJNhhaNn3ZAwwKsiXEa9G7TNF638Xbpl
สปสช. ยืนยันรักษาแบบ "เจอ แจก จบ" หลัง 1 ก.ค. 65 รับบริการหน่วยบริการใกล้บ้านได้ ย้ำ! ไม่เสียค่าใช้จ่าย ไม่ต้องใช้ใบส่งตัว
นพ.จเด็จ ธรรมธัชอารี เลขาธิการสํานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) เปิดเผย การใช้สิทธิ์บัตรทองหลังวันที่ 1 ก.ค. 65 ว่า ไม่มีการทิ้งให้ผู้ป่วยต้องจ่ายเงินในการรักษาผู้ป่วยโควิด-19 เอง ขณะนี้ กระทรวงสาธารณสุข ได้เพิ่มมาตรการให้สถานการณ์ดีขึ้น โดยการลดกิจกรรมบางอย่าง เช่น สวมหน้ากาก หรือว่าลดการควบคุมโรคในบางส่วนที่ไม่จำเป็นลง ซึ่งขณะนี้ทางกระทรวงสาธารณสุขกล่าวว่า ถ้าสัมผัสผู้ป่วยตอนนี้ แล้วยังไม่มีอาการก็ไม่จำเป็นที่จะต้องไปตรวจ ATK หรือว่าหน่วยบริการที่ไปตรวจเชิงรุก เพียงแต่ต้องดูตามอาการ หากมีอาการสามารถเข้ารักษาแบบผู้ป่วยนอก หรือถ้าหากมีอาการมาก เช่น ผู้ป่วยในกลุ่ม 608 จะได้รับการรักษาแบบผู้ป่วยใน พร้อมยืนยันยังไม่มีการยกเลิก Home Isolation โดยขึ้นอยู่กับทางแพทย์ผู้รักษา หากเตียงในสถานพยาบาลเต็ม ก็ใช้การรักษาแบบ Home Isolation
ส่วนกรณีของผู้ใช้สิทธิ์หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า แล้วมีอาการเจ็บป่วย หรือสงสัย ยังคงไปขอรับบริการการตรวจ ATK ที่ร้านขายยา ที่อยู่ในระบบได้ หรือไปศูนย์บริการโรงพยาบาลต่างๆ หากตรวจแล้วผลออกมาเป็นบวก การรักษาก็จะอยู่ที่หน่วยให้บริการที่ไปตรวจ ซึ่งจะให้บริการโดยการให้ยา ตามโครงการเจอแจกจบ แล้วกลับไปดูแลตัวเองที่บ้าน อีก 2 วัน จากนั้นจะมีแพทย์ติดต่อสอบถามอาการ แต่ถ้าเป็นผู้ป่วย 608 มีอาการค่อนข้างหนัก แพทย์จะให้พักรักษาตัวที่โรงพยาบาล ประชาชนก็ยังเข้ารับบริการโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย
ที่มา : สำนักข่าว กรมประชาสัมพันธ์
https://web.facebook.com/informationcovid19/posts/pfbid05iYcVy7BKX9Xpm5bj9M7NxYPkXzf3iuKmfUQn5YvWRyvoKrso8QmGe7hwhPPwP4Al
“นพ.ยง” เคลียร์ชัด ป่วยโควิด19 ต้องกักตัวรักษา 10 วัน ไม่ว่าจะฉีดวัคซีน-ไม่ฉีด มีอาการ-ไม่มีอาการ ป้องกันเชื้อแพร่ถึงผู้อื่น
นพ.ยง ภู่วรวรรณ หน.ศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะด้านไวรัสวิทยาคลินิกภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แจงการรักษาตัวของผู้ติดเชื้อโควิด 19 เพื่อป้องกันส่งเชื้อสู่ผู้อื่น กี่วันว่า จากการศึกษา 2 วารสาร วารสารสมาคมแพทย์อเมริกัน JAMA (New England Journal of Medicine วารสารชั้นนำของโลก) ดูจากการเพาะเชื้อ ถ้าไวรัสยังมีชีวิตอยู่ก็สามารถเพาะเชื้อเจริญเติบโตขึ้นมาได้ในเซลล์เพาะเลี้ยง แสดงว่ายังสามารถแพร่กระจายเชื้อได้ 2 วารสารมีผลคล้ายกัน
“เชื้อจะลดลงหลัง 7 วันไปแล้ว และจะพบได้น้อยมาก ต้องหลัง 10 วันไปแล้ว โดยนับตั้งแต่วันที่เริ่มมีอาการ ไม่ว่าผู้ที่ติดเชื้อแบบมีอาการ, มีอาการน้อย หรือไม่มีอาการยังคงเหมือนกัน เช่นเดียวกันผู้ที่ฉีดวัคซีนมาแล้ว หรือไม่ได้ฉีดวัคซีน ระยะเวลาการแพร่เชื้อก็ไม่ได้ต่างกัน เป็นเพียงต่างกันในปริมาณของไวรัส และอัตราการตรวจพบในผู้ที่ฉีดวัคซีนมาแล้วจะน้อยกว่า แต่ระยะเวลา ก็ยังคงเป็น 10 วันเหมือนเดิม”
ดังนั้น ควรกักตัวและป้องกันตัวเองอย่างน้อย 10 วัน จะนับว่าปลอดภัย บางคนเมื่ออาการดีขึ้นแล้ว เอาเป็นว่า 7 วัน ที่ต้องกักตัวอยู่บ้าน และพออนุโลม 3 วันหลัง ถ้าจะออกไปไหนจะต้องพึงสำนึกเสมอว่า เรายังสามารถแพร่เชื้อไปสู่ผู้อื่นได้ จะต้องป้องกันตัวเองเต็มที่ ไม่ให้ไปแพร่เชื้อสู่ผู้อื่น
ไม่เอาผลการตรวจ ATK มาเป็นตัวตัดสินว่าเป็นลบแล้ว จะไม่แพร่เชื้อ ในทางปฏิบัติผู้ที่ติดเชื้อ ไม่มีความจำเป็นที่จะต้องตรวจ ATK ซ้ำ (สิ้นเปลืองทรัพยากร) ผลจะบวกหรือลบ จะต้องป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ 10 วัน
ที่มา : https://www.facebook.com/yong.poovorawan/posts/pfbid0V4KBkEoTPVBRd4xQGcU3Xr9T9QoDaRzKUbwARovpBniNC6p13DjVAWoQXz4KMjwyl
https://www.facebook.com/Sumnakkaow.PRD/posts/pfbid0eByzMBGPysymCH6ihfT58UVrU3t6QYfk4VNhSQVorRYMVG8AaXqxU74r7aCtHrVul
เผยผลเฝ้าระวัง BA.4 - BA.5 แพร่เร็ว – หลบภูมิฯ ทำระบาดก้าวกระโดดครองพื้นที่ไทยแล้ว 51 % รอผลความรุนแรง ย้ำต้องรับวัคซีนกระตุ้น – ป้องกันตัวเองเข้ม
นพ.ศุภกิจ ศิริลักษณ์ อธิบดีกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข ระบุว่า ข้อมูลสัปดาห์ที่ผ่านมาพบสายพันธุ์ย่อยโอมิครอน BA.4 และ BA.5 มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นชัดเจน กระโดดจาก 2 สัปดาห์ก่อนที่ร้อยละ 6.7 เป็นร้อยละ 44.3 (เมื่อสัปดาห์ก่อน) และล่าสุดเพิ่มเป็นร้อยละ 51.7 คาดอีกไม่นาน BA.4 และ BA.5 จะเข้ามาครองพื้นที่ระบาดทั้งหมดในประเทศไทย คล้ายกับตอนที่โอมิครอนมาแทนที่สายพันธุ์เดลต้า และตอนที่สายพันธุ์ย่อยโอมิครอน BA.2 แทนที่ BA.1
“เนื่องจากพบว่า BA.4 และ BA.5 มีการกลายพันธุ์ตำแหน่งที่หลบภูมิฯ จึงแพร่ได้ค่อนข้างเร็ว แต่ความรุนแรงยังสรุปไม่ได้ ข้อมูลยังน้อย กรมวิทย์ฯ ได้ประสานขอให้ รพ.ที่มีผู้ป่วยหนักปอดอักเสบ ใส่ท่อช่วยหายใจ รวมถึงกรณีการเสียชีวิตให้ส่งตัวอย่าง เพื่อตรวจเทียบสายพันธุ์และความรุนแรง ขอย้ำ ประชาชนอย่าเพิ่งตกใจเกินกว่าเหตุ ที่เห็นข้อมูลการนอนโรงพยาบาลมากขึ้น 2 สายพันธุ์นี้ อาจแพร่เร็วขึ้นและคนที่เคยติดเชื้ออื่นมาแล้ว ยังติดซ้ำได้อีก” หมอศุภกิจ กล่าว
ทั้งนี้ มาตรการป้องกันตนเองอย่างเข้มข้น สามารถป้องกันเชื้อนี้ได้ พร้อมทั้งฉีดวัคซีนเข็มกระตุ้นต่อเนื่อง โดยเฉพาะกลุ่ม 608 อย่างไรก็ตาม ขณะนี้ กรมวิทย์ฯ ได้เพาะเชื้อ BA.5 ได้เรียบร้อยแล้ว เร่งทดสอบกับวัคซีนชนิดต่างๆ (ผลจะออกในสัปดาห์นี้) ส่วนสายพันธุ์ BA.4 อยู่ระหว่างพยายามเพาะเชื้อ คาดผลจะออกในสัปดาห์หน้า
https://web.facebook.com/Sumnakkaow.PRD/posts/pfbid02sxCXEVN5qjDypz5tYdV4hkAdUt6AJXbViZArNjxXQapHv9PV7o1pwY2Kyn8zEGF8l
https://www.facebook.com/fanmoph/videos/393718902738009/ (มีคลิป)
https://www.facebook.com/fanmoph/videos/1007868346560564/ (มีคลิป)
แถลงความคืบหน้าสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ณ กระทรวงสาธารณสุข
3 กรกฎาคม 2565
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
รวมสไลด์แถลงสถานการณ์โควิด-19 จาก ศบค.
วันจันทร์ที่ 4 กรกฎาคม 2565
https://www.facebook.com/informationcovid19/posts/pfbid03RJuUiL8hws8YgsoFnkpbmD7oJ5MFpX4si3oHRw1jeYffzZpQFizjw3UoQCKDDuWl
จำนวนการได้รับวัคซีนสะสม (28 ก.พ. 2564 - 3 ก.ค. 2565)
รวม 140,036,597 โดส ใน 77 จังหวัด
ภาพรวมยอดฉีดวัคซีน วันที่ 3 กรกฎาคม 2565
ยอดฉีดทั่วประเทศ 36,314 โดส
เข็มที่ 1 : 2,183 ราย
เข็มที่ 2 : 4,218 ราย
เข็มที่ 3 : 29,913 ราย
จำนวนผู้ได้รับวัคซีน เข็มที่ 1 สะสม : 57,002,226 ราย
จำนวนผู้ได้รับวัคซีน เข็มที่ 2 สะสม : 53,214,484 ราย
จำนวนผู้ได้รับวัคซีน เข็มที่ 3 สะสม : 29,819,887 ราย
แหล่งข้อมูล : MOPH-IC
https://www.facebook.com/informationcovid19/posts/pfbid0ARMQkESCPLQVhTNXyC8L8qBDWP81jKxq4fSPZn9V1rgSfNrFNhWLFZSoWBm7amGKl
กทม. ขอเชิญผู้ที่มีอายุ 18 ปีขึ้นไป ทุกสัญชาติ ฉีดวัคซีนโมเดอร์นาเข็มกระตุ้น (เข็ม 3 หรือ เข็ม 4) ฟรี
จำกัด "วันละ 500 คน" เท่านั้นนะ
ไปฉีดที่ลานกีฬาเวสน์ 1 ศูนย์เยาวชนกรุงเทพมหานคร (สนามกีฬาไทย-ญี่ปุ่น) เขตดินแดง ได้ทุกวัน เวลา 08.00 - 16.00 น. ตั้งแต่วันนี้ถึงวันที่ 15 ก.ค.65 หรือจนกว่าวัคซีนจะหมด
จะจองคิวผ่านแอป QueQ หรือจะเดิน Walk in เข้าไปเลยก็ได้นะ
อย่าลืม
• บัตรประชาชน หรือบัตรยืนยันตัวตนอื่น เช่น Passport
• ปากกาส่วนตัว
สอบถามเพิ่มเติมได้ที่ สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร 0 2203 2883
ที่มา: กรุงเทพมหานคร
https://www.facebook.com/informationcovid19/posts/pfbid02zqoHUpJLuccDEXwTVyfUUHFtPGu5wmSkinSrVV69tMgrfJndUh6sdiVkhBHdQkkel
เตือน !! รับประทานอาหารร่วมกัน
จุดเสี่ยงติดโควิด-19
ย้ำการ์ดอย่าตก
ที่มา: กระทรวงวัฒนธรรม
https://www.facebook.com/informationcovid19/posts/pfbid02FZH1ZtTDYjWu4XAWvRBysGUtVwKqSvTwzUXrzNic3GAJRGPMx1zx79uXRS6tFaBTl
รายละเอียดผู้เสียชีวิตของประเทศไทย
วันจันทร์ที่ 4 กรกฎาคม 2565 จำนวน 18 ราย
แหล่งข้อมูล : กระทรวงสาธารณสุข
https://www.facebook.com/informationcovid19/posts/pfbid02NxFfnjQrLvCnrPcw9mDyikJfgRR2hR1CceJNhhaNn3ZAwwKsiXEa9G7TNF638Xbpl
สปสช. ยืนยันรักษาแบบ "เจอ แจก จบ" หลัง 1 ก.ค. 65 รับบริการหน่วยบริการใกล้บ้านได้ ย้ำ! ไม่เสียค่าใช้จ่าย ไม่ต้องใช้ใบส่งตัว
นพ.จเด็จ ธรรมธัชอารี เลขาธิการสํานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) เปิดเผย การใช้สิทธิ์บัตรทองหลังวันที่ 1 ก.ค. 65 ว่า ไม่มีการทิ้งให้ผู้ป่วยต้องจ่ายเงินในการรักษาผู้ป่วยโควิด-19 เอง ขณะนี้ กระทรวงสาธารณสุข ได้เพิ่มมาตรการให้สถานการณ์ดีขึ้น โดยการลดกิจกรรมบางอย่าง เช่น สวมหน้ากาก หรือว่าลดการควบคุมโรคในบางส่วนที่ไม่จำเป็นลง ซึ่งขณะนี้ทางกระทรวงสาธารณสุขกล่าวว่า ถ้าสัมผัสผู้ป่วยตอนนี้ แล้วยังไม่มีอาการก็ไม่จำเป็นที่จะต้องไปตรวจ ATK หรือว่าหน่วยบริการที่ไปตรวจเชิงรุก เพียงแต่ต้องดูตามอาการ หากมีอาการสามารถเข้ารักษาแบบผู้ป่วยนอก หรือถ้าหากมีอาการมาก เช่น ผู้ป่วยในกลุ่ม 608 จะได้รับการรักษาแบบผู้ป่วยใน พร้อมยืนยันยังไม่มีการยกเลิก Home Isolation โดยขึ้นอยู่กับทางแพทย์ผู้รักษา หากเตียงในสถานพยาบาลเต็ม ก็ใช้การรักษาแบบ Home Isolation
ส่วนกรณีของผู้ใช้สิทธิ์หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า แล้วมีอาการเจ็บป่วย หรือสงสัย ยังคงไปขอรับบริการการตรวจ ATK ที่ร้านขายยา ที่อยู่ในระบบได้ หรือไปศูนย์บริการโรงพยาบาลต่างๆ หากตรวจแล้วผลออกมาเป็นบวก การรักษาก็จะอยู่ที่หน่วยให้บริการที่ไปตรวจ ซึ่งจะให้บริการโดยการให้ยา ตามโครงการเจอแจกจบ แล้วกลับไปดูแลตัวเองที่บ้าน อีก 2 วัน จากนั้นจะมีแพทย์ติดต่อสอบถามอาการ แต่ถ้าเป็นผู้ป่วย 608 มีอาการค่อนข้างหนัก แพทย์จะให้พักรักษาตัวที่โรงพยาบาล ประชาชนก็ยังเข้ารับบริการโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย
ที่มา : สำนักข่าว กรมประชาสัมพันธ์
https://web.facebook.com/informationcovid19/posts/pfbid05iYcVy7BKX9Xpm5bj9M7NxYPkXzf3iuKmfUQn5YvWRyvoKrso8QmGe7hwhPPwP4Al
“นพ.ยง” เคลียร์ชัด ป่วยโควิด19 ต้องกักตัวรักษา 10 วัน ไม่ว่าจะฉีดวัคซีน-ไม่ฉีด มีอาการ-ไม่มีอาการ ป้องกันเชื้อแพร่ถึงผู้อื่น
นพ.ยง ภู่วรวรรณ หน.ศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะด้านไวรัสวิทยาคลินิกภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แจงการรักษาตัวของผู้ติดเชื้อโควิด 19 เพื่อป้องกันส่งเชื้อสู่ผู้อื่น กี่วันว่า จากการศึกษา 2 วารสาร วารสารสมาคมแพทย์อเมริกัน JAMA (New England Journal of Medicine วารสารชั้นนำของโลก) ดูจากการเพาะเชื้อ ถ้าไวรัสยังมีชีวิตอยู่ก็สามารถเพาะเชื้อเจริญเติบโตขึ้นมาได้ในเซลล์เพาะเลี้ยง แสดงว่ายังสามารถแพร่กระจายเชื้อได้ 2 วารสารมีผลคล้ายกัน
“เชื้อจะลดลงหลัง 7 วันไปแล้ว และจะพบได้น้อยมาก ต้องหลัง 10 วันไปแล้ว โดยนับตั้งแต่วันที่เริ่มมีอาการ ไม่ว่าผู้ที่ติดเชื้อแบบมีอาการ, มีอาการน้อย หรือไม่มีอาการยังคงเหมือนกัน เช่นเดียวกันผู้ที่ฉีดวัคซีนมาแล้ว หรือไม่ได้ฉีดวัคซีน ระยะเวลาการแพร่เชื้อก็ไม่ได้ต่างกัน เป็นเพียงต่างกันในปริมาณของไวรัส และอัตราการตรวจพบในผู้ที่ฉีดวัคซีนมาแล้วจะน้อยกว่า แต่ระยะเวลา ก็ยังคงเป็น 10 วันเหมือนเดิม”
ดังนั้น ควรกักตัวและป้องกันตัวเองอย่างน้อย 10 วัน จะนับว่าปลอดภัย บางคนเมื่ออาการดีขึ้นแล้ว เอาเป็นว่า 7 วัน ที่ต้องกักตัวอยู่บ้าน และพออนุโลม 3 วันหลัง ถ้าจะออกไปไหนจะต้องพึงสำนึกเสมอว่า เรายังสามารถแพร่เชื้อไปสู่ผู้อื่นได้ จะต้องป้องกันตัวเองเต็มที่ ไม่ให้ไปแพร่เชื้อสู่ผู้อื่น
ไม่เอาผลการตรวจ ATK มาเป็นตัวตัดสินว่าเป็นลบแล้ว จะไม่แพร่เชื้อ ในทางปฏิบัติผู้ที่ติดเชื้อ ไม่มีความจำเป็นที่จะต้องตรวจ ATK ซ้ำ (สิ้นเปลืองทรัพยากร) ผลจะบวกหรือลบ จะต้องป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ 10 วัน
ที่มา : https://www.facebook.com/yong.poovorawan/posts/pfbid0V4KBkEoTPVBRd4xQGcU3Xr9T9QoDaRzKUbwARovpBniNC6p13DjVAWoQXz4KMjwyl
https://www.facebook.com/Sumnakkaow.PRD/posts/pfbid0eByzMBGPysymCH6ihfT58UVrU3t6QYfk4VNhSQVorRYMVG8AaXqxU74r7aCtHrVul
เผยผลเฝ้าระวัง BA.4 - BA.5 แพร่เร็ว – หลบภูมิฯ ทำระบาดก้าวกระโดดครองพื้นที่ไทยแล้ว 51 % รอผลความรุนแรง ย้ำต้องรับวัคซีนกระตุ้น – ป้องกันตัวเองเข้ม
นพ.ศุภกิจ ศิริลักษณ์ อธิบดีกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข ระบุว่า ข้อมูลสัปดาห์ที่ผ่านมาพบสายพันธุ์ย่อยโอมิครอน BA.4 และ BA.5 มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นชัดเจน กระโดดจาก 2 สัปดาห์ก่อนที่ร้อยละ 6.7 เป็นร้อยละ 44.3 (เมื่อสัปดาห์ก่อน) และล่าสุดเพิ่มเป็นร้อยละ 51.7 คาดอีกไม่นาน BA.4 และ BA.5 จะเข้ามาครองพื้นที่ระบาดทั้งหมดในประเทศไทย คล้ายกับตอนที่โอมิครอนมาแทนที่สายพันธุ์เดลต้า และตอนที่สายพันธุ์ย่อยโอมิครอน BA.2 แทนที่ BA.1
“เนื่องจากพบว่า BA.4 และ BA.5 มีการกลายพันธุ์ตำแหน่งที่หลบภูมิฯ จึงแพร่ได้ค่อนข้างเร็ว แต่ความรุนแรงยังสรุปไม่ได้ ข้อมูลยังน้อย กรมวิทย์ฯ ได้ประสานขอให้ รพ.ที่มีผู้ป่วยหนักปอดอักเสบ ใส่ท่อช่วยหายใจ รวมถึงกรณีการเสียชีวิตให้ส่งตัวอย่าง เพื่อตรวจเทียบสายพันธุ์และความรุนแรง ขอย้ำ ประชาชนอย่าเพิ่งตกใจเกินกว่าเหตุ ที่เห็นข้อมูลการนอนโรงพยาบาลมากขึ้น 2 สายพันธุ์นี้ อาจแพร่เร็วขึ้นและคนที่เคยติดเชื้ออื่นมาแล้ว ยังติดซ้ำได้อีก” หมอศุภกิจ กล่าว
ทั้งนี้ มาตรการป้องกันตนเองอย่างเข้มข้น สามารถป้องกันเชื้อนี้ได้ พร้อมทั้งฉีดวัคซีนเข็มกระตุ้นต่อเนื่อง โดยเฉพาะกลุ่ม 608 อย่างไรก็ตาม ขณะนี้ กรมวิทย์ฯ ได้เพาะเชื้อ BA.5 ได้เรียบร้อยแล้ว เร่งทดสอบกับวัคซีนชนิดต่างๆ (ผลจะออกในสัปดาห์นี้) ส่วนสายพันธุ์ BA.4 อยู่ระหว่างพยายามเพาะเชื้อ คาดผลจะออกในสัปดาห์หน้า
https://web.facebook.com/Sumnakkaow.PRD/posts/pfbid02sxCXEVN5qjDypz5tYdV4hkAdUt6AJXbViZArNjxXQapHv9PV7o1pwY2Kyn8zEGF8l
แสดงความคิดเห็น
🇹🇭มาลาริน💛4ก.ค.ไทยไม่ติดTop10โลก/ป่วย1,995คน หายป่วย2,148คน เสียชีวิต18คน /หมอแนะกักตัว10วันไม่แพร่เชื้อ/แมสยังจำเป็น
https://www.sanook.com/news/8586686/
https://www.bangkokbiznews.com/social/1013423
https://www.bangkokbiznews.com/social/1013469
หมอ ยง" เผยระยะปลอดภัยกักตัว 10 วันป้องกันแพร่เชื้อโควิดไปสู่ผู้อื่น
ศ.นพ.ยงเผยผลวิจัยระยะเวลาในการป้องกันการแพร่เชื้อโควิดสู่ผู้อื่น เชื้อจะลดลงหลัง 7 วันไปแล้ว และจะพบได้น้อยมาก ต้องหลัง 10 วันไปแล้ว ผู้ที่ติดเชื้อควรกักตัวและป้องกันตัวเองอย่างน้อย 10 วันจึงจะนับว่าปลอดภัย ไม่ให้ไปแพร่เชื้อสู่ผู้อื่น
วันนี้ (4 กรกฎาคม 2565) ศ.นพ.ยง ภู่วรวรรณ หัวหน้าศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านไวรัสวิทยาคลินิก ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โพสต์เฟซบุ๊ก ระบุว่า โควิด-19 ผู้ป่วย covid-19 ควรป้องกันไม่ให้เชื้อไปติดผู้อื่นนานเท่าไหร่
ระยะนี้มีผู้ป่วยจำนวนมาก เวลาในการเก็บตัวของผู้ติดเชื้อโควิด-19 หรือป้องกันการติดเชื้อสู่ผู้อื่นจะเป็นกี่วัน ในระยะหลังเราลดระยะลงมา จึงมีการตั้งคำถามว่าจะเอากี่วันแน่ที่ถือว่าเป็นระยะเวลาแพร่เชื้อ
จากการศึกษา เผยแพร่ถึง 2 วารสาร คือ วารสารสมาคมแพทย์อเมริกัน JAMA และใน New England Journal of Medicine ที่เป็นวารสารชั้นนำของโลก โดยดูจากการเพาะเชื้อ ถ้าไวรัสยังมีชีวิตอยู่ก็สามารถเพาะเชื้อเจริญเติบโตขึ้นมาได้ในเซลล์เพาะเลี้ยง แสดงว่ายังสามารถแพร่กระจายเชื้อได้
จากการศึกษาทั้งสองวารสาร มีผลที่คล้ายกันมาก คือเชื้อจะลดลงหลัง 7 วันไปแล้ว และจะพบได้น้อยมาก ต้องหลัง 10 วันไปแล้ว โดยนับตั้งแต่วันที่เริ่มมีอาการ
ระยะเวลานี้ไม่ว่าจะเป็นผู้ที่ติดเชื้อแบบมีอาการ หรือมีอาการน้อยหรือไม่มีอาการ ระยะเวลาก็ยังคงเหมือนกัน แต่ระดับปริมาณไวรัส และเปอร์เซ็นต์การตรวจพบในผู้มีอาการน้อยจะพบได้น้อยกว่า
เช่นเดียวกัน ผู้ที่ฉีดวัคซีนมาแล้วหรือไม่ได้ฉีดวัคซีน ระยะเวลาการแพร่เชื้อก็ไม่ได้ต่างกัน เป็นเพียงต่างกันในปริมาณของไวรัส และอัตราการตรวจพบในผู้ที่ฉีดวัคซีนมาแล้วจะน้อยกว่า แต่ระยะเวลาก็ยังคงเป็น 10 วันเหมือนเดิม ขออนุญาตเอารูปจากวารสารมาลงให้ดู
ดังนั้น ในผู้ที่ติดเชื้อควรกักตัวและป้องกันตัวเองอย่างน้อย 10 วัน จึงจะนับว่าปลอดภัย แต่สำหรับบางคน เมื่ออาการดีขึ้นแล้ว เอาเป็นว่า 7 วันที่ต้องกักตัวอยู่บ้าน และพออนุโลม 3 วันหลังถ้าจะออกไปไหนจะต้องพึงสำนึกเสมอว่าเรายังสามารถแพร่เชื้อไปสู่ผู้อื่นได้ จะต้องป้องกันตัวเองเต็มที่ ไม่ให้ไปแพร่เชื้อสู่ผู้อื่น อย่างน้อยให้ครบ 10 วัน
การตรวจ ATK ส่วนใหญ่ ATK จะเป็นบวก ล้อตามกับการเพาะเชื้อ แต่เราคงไม่เอาผล ATK มาเป็นตัวตัดสินว่า ATK เป็นลบแล้วจะไม่แพร่เชื้อ เพราะผลตรวจ ATK มีความไวต่ำกว่า และผลอาจมีผลบวกปลอมหรือผลลบปลอมได้ ในทางปฏิบัติผู้ที่ติดเชื้อไม่มีความจำเป็นที่จะต้องตรวจ ATK ซ้ำ เป็นการเปลืองทรัพยากร เพราะไม่ว่าจะเป็นบวกหรือเป็นลบ เราก็จะต้องป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ 10 วันอยู่ดี
https://mgronline.com/onlinesection/detail/9650000063270
หมอมนูญ'ชี้เราจำเป็นต้องพึ่งแมสก์ทุกวัน ป้องกันรับเชื้อโควิด-19
วันจันทร์ ที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2565, 10.29 น.
หมอมนูญ'ชี้เราไม่สามารถพึ่งวัคซีนรุ่นปัจจุบัน แนะสวมหน้ากากยังจำเป็นทุกวัน
4 ก.ค.65 นายแพทย์มนูญ ลีเชวงวงศ์ หัวหน้าห้องไอซียูโรคระบบทางเดินหายใจ โรงพยาบาลวิชัยยุทธ โพสต์ข้อความผ่านเฟซบุ๊ก “หมอมนูญ ลีเชวงวงศ์ FC” มีเนื้อหาดังนี้
คนที่ติดโรคโควิดระลอกใหม่นี้ เท่าที่ผมสังเกตส่วนใหญ่ เป็นคนที่ระมัดระวังตัวป้องกันตัวเองเต็มที่ และเป็นคนที่ได้รับวัคซีนป้องกันโรคโควิดที่มีประสิทธิภาพสูงครบโดส รวมทั้งได้เข็มกระตุ้น เช่นได้รับวัคซีนไฟเซอร์ 3 เข็ม วัคซีนแอสตร้าเซเนกา 2 เข็มตามด้วยวัคซีน mRNA 2 เข็ม หรือวัคซีนซิโนแวค 2 เข็ม ตามด้วยแอสตร้าเซเนกา 1 เข็มและโมเดอร์นาอีก 2 เข็ม แต่ก็ยังติดเชื้อ แสดงว่าเชื้อนี้แพร่กระจายเร็ว และหลบหลีกภูมิคุ้มกันที่เกิดจากการฉีดวัคซีนได้มากกว่าสายพันธุ์เดิมก่อนหน้านี้ แต่โชคดีคนกลุ่มที่ได้รับวัคซีนที่มีประสิทธิภาพดี และได้รับเข็มกระตุ้น จะมีอาการน้อยมาก หายได้เอง และส่วนใหญ่ไม่มีอาการของลองโควิด
เราไม่สามารถพึ่งวัคซีนรุ่นปัจจุบันในการป้องกันการติดเชื้อไวรัสโควิด จำเป็นต้องพึ่งมาตรการส่วนบุคคลโดยเฉพาะหน้ากากอนามัย
ถ้าคนติดเชื้อไม่ใส่หน้ากากอนามัย คนปกติใส่หน้ากาก จะลดการรับเชื้อได้ร้อยละ 30
ถ้าคนติดเชื้อใส่หน้ากากอนามัย คนปกติไม่ได้ใส่หน้ากาก จะลดการรับเชื้อได้ร้อยละ 95
ถ้าทั้งคนติดเชื้อ และคนปกติ ต่างใส่หน้ากากอนามัย จะลดการรับเชื้อได้ร้อยละ 98.5 (ดูรูป)
ขณะนี้เป็นเรื่องจำเป็นที่ทุกคนควรใส่หน้ากากอนามัยเวลาอยู่ในที่สาธารณะผู้คนแออัด อากาศปิด ถ่ายเทไม่ดี ติดตั้งเครื่องปรับอากาศ
ในอนาคตอันใกล้เมื่อเรามีวัคซีนรุ่นใหม่ที่สามารถครอบคลุมไวรัสโอมิครอนสายพันธุ์ย่อย BA.4, BA.5 เราอาจจะพึ่งวัคซีนรุ่นใหม่ในการป้องกันการติดเชื้อไวรัสโควิด-19
https://www.naewna.com/likesara/664461
...ติดตามข่าวโควิดวันนี้ค่ะ
วันนี้ป่วยใหม่ต่ำกว่าสองพันคน หายป่วยมากกว่า ขอให้เป็นอย่างนี้ทุกวันคงดีนะคะ
หมอ ยงท่านเผยผลวิจัยกักตัว10วัน ปลอดภัยไม่แพร่เชื้อต่อ
หมอมนูญแนะการสวมหน้ากากอนามัยยังจำเป็นติดตามอ่านได้เลยค่ะ