"สัตว์บุคคลตัวตนเราเขา" ไม่มีในพระสูตร
แต่มาจากคัมภีร์แต่งใหม่ ในยุคหลังพุทธกาล โดยอ้างอิงตัวบุคคลทางประวัติศาสตร์ เรื่อง
มิลินทปัญหา
บทสนทนาระหว่าง พระเจ้ามิลินท์ และพระนาคเสน
แนวคิดทางพุทธศาสนา ในประเด็นที่ซับซ้อนสับสนที่สุด เถียงกันมาตั้งแต่สมัยพุทธกาลแล้ว
คือ สัสสตทิฏฐิ (พราหมณ์-ตายแล้วไม่ขาดสูญ ยังมีบางสิ่งไปเกิด ไปรับกรรมชั่ว-กรรมดีที่ตนเองก่อ) VS อุจเฉททิฏฐิ (ตายแล้วสูญ ไม่มีเกิด ไม่มีอะไรเหลือ บุญ-บาปไม่มีจริง)
พระพุทธเจ้าอยู่กึ่งกลางของ 2 แนวคิดนี้
หาทางออกจากระบบกรรม ด้วยการแตกสลายกระจายธาตุและขันธ์ทั้งหมดภายหลังการตายให้ได้
พวกที่เถียงเรื่องไม่มีสัตว์บุคคลตัวตนเราเขา (ปรมัตถ์เสียเหลือเกิน) แต่ยังเอาเรื่องเวรกรรมหลังตายมาขู่ชาวบ้านแสดงว่า ตัวเขาเองก็ยังมีความเชื่อว่าหลังตาย จะมีอะไรสักอย่างไปเกิดอยู่ หรือไปรับกรรมอยู่
ย้อนแย้ง
มีคนสงสัยว่า "สัตว์บุคคลตัวตนเราเขา" มาจากไหน อ๋อครับ...มาจากคัมภีร์แต่งใหม่
แต่มาจากคัมภีร์แต่งใหม่ ในยุคหลังพุทธกาล โดยอ้างอิงตัวบุคคลทางประวัติศาสตร์ เรื่อง มิลินทปัญหา
บทสนทนาระหว่าง พระเจ้ามิลินท์ และพระนาคเสน
แนวคิดทางพุทธศาสนา ในประเด็นที่ซับซ้อนสับสนที่สุด เถียงกันมาตั้งแต่สมัยพุทธกาลแล้ว
คือ สัสสตทิฏฐิ (พราหมณ์-ตายแล้วไม่ขาดสูญ ยังมีบางสิ่งไปเกิด ไปรับกรรมชั่ว-กรรมดีที่ตนเองก่อ) VS อุจเฉททิฏฐิ (ตายแล้วสูญ ไม่มีเกิด ไม่มีอะไรเหลือ บุญ-บาปไม่มีจริง)
พระพุทธเจ้าอยู่กึ่งกลางของ 2 แนวคิดนี้
หาทางออกจากระบบกรรม ด้วยการแตกสลายกระจายธาตุและขันธ์ทั้งหมดภายหลังการตายให้ได้
พวกที่เถียงเรื่องไม่มีสัตว์บุคคลตัวตนเราเขา (ปรมัตถ์เสียเหลือเกิน) แต่ยังเอาเรื่องเวรกรรมหลังตายมาขู่ชาวบ้านแสดงว่า ตัวเขาเองก็ยังมีความเชื่อว่าหลังตาย จะมีอะไรสักอย่างไปเกิดอยู่ หรือไปรับกรรมอยู่
ย้อนแย้ง