พระไตรปิฎกภาษาจีนมีความเป็นมาอย่างยาวนาน และพระพุทธศาสนาเข้ามาในประเทศจีน
หลังจากที่จีนสามารถประดิษฐ์กระดาษได้แล้วในราว ค.ศ. 105
ดังนั้นพระไตรปิฎกภาษาจีนจึงมีจุดเริ่มต้นด้วยการคัดลอกลงในกระดาษ
โดยเขียนลงบนกระดาษม้วนยาวหลายแผ่นต่อกันแล้วม้วน
เป็นพับ ๆ โดยเขียนเพียงด้านเดียว ท าให้พระสูตรมีลักษณะนามว่า 卷 ที่แปลว่าม้วน หรือ ผูก
ซึ่งชาวจีนเชื่อกันว่าการคัดลอกพระสูตรนั้นได้บุญมาก จึงมีการคัดลอกสืบต่อกันมาจากประวัติศาสตร์
พระภิกษุผู้ทรงคุณูปการในด้านการเดินทางไปตะวันตกเพื่อน าพระสูตรกลับมา
เฉกเช่น พระจูซื่อสิง(ค.ศ. 203-282) ซึ่งเป็นพระภิกษุจีนรูปแรกที่ได้เดินทางไปถึงโขตาน
ในพื้นที่ดินแดนตะวันตกและพบพระสูตรจ านวนมาก ท่านจึงไม่ได้เดินทางไปอินเดียต่อ
และได้ท าการคัดลอกพระสูตรลงในกระดาษและให้ลูกศิษย์ส่งกลับจีน ปัจจุบันได้ค้นพบ
พระสูตรฉบับเขียนคัดลอกมากมายในถ ้าตุนหวงมณฑลกานซู่ โดยถูกเก็บไว้ในพิพิธภัณฑ์ต่าง ๆ
การแปลและคัดลอกพระสูตรจัดท าโดยกลุ่มบุคคลที่หลากหลาย ทั้งผู้แปลที่เป็นพระภิกษุ
ต่างชาติร่วมกับพระภิกษุจีน หรือพระภิกษุต่างชาติที่มีความรู้ภาษาจีน หรือพระภิกษุจีนที่มีความรู้
ทางภาษาสันสฤตและภาษาปรากฤตในเมืองเขตดินแดนตะวันตก ท าให้มีการแปลพระสูตร
อย่างแพร่หลายในประเทศจีน
และด้วยเหตุนี้ท าให้พระเต้าอัน 释道安 (ค.ศ. 312-385) ซึ่งเป็นพระที่มีชื่อเสียงมากในยุคราชวงศ์เหนือใต้
ได้รวบรวมพระสูตรที่แปลเหล่านี้ จัดท าเป็นบัญชีรายชื่อหรือทะเบียนพระสูตรที่เรียกชื่อว่า
สารบัญทะเบียนที่ครอบคลุมพระสูตรทั้งหลาย (综理众经目录, Zōng lǐ zhòng jīng mùlù)
ต่อมาพระเซิงโย่ว 释僧祐 (445-518) ได้รวบรวมพระสูตรที่แปลเพิ่มเติมในเวลาต่อมาท าเป็นทะเบียน
พระสูตรเช่นกัน โดยเพิ่มเติมจากของที่พระเต้าอันที่ได้บันทึกไว้ บัญชีรายชื่อนี้มี
ชื่อเรียกว่า บันทึกการรวบรวมพระไตรปิฎก (出三藏記集, Chū sānzàng jì jí) และได้มีการบันทึก
บัญชีรายชื่อพระสูตรต่อมาอีกหลายฉบับจนถึงยุคราชวงศ์ชิงรวมทั้งสิ้น 27 บันทึก
ซึ่งบันทึกเหล่านี้มีความส าคัญทั้งในด้านการบันทึกประวัติศาสตร์เรื่องราวของพระสูตร
และผู้แปลในยุคนั้น ๆ รวมถึงสามารถศึกษาเทียบเคียงเนื้อหาเพื่อหาพระสูตรที่สูญหายไป
หรือยืนยันการมีอยู่จริงของพระสูตรได้จากบันทึกบัญชีรายชื่อเหล่านี้
ในประวัติศาสตร์มีปรากฏเรื่องราวการรวบรวมและช าระพระไตรปิฎกฉบับคัดลอกลายมือ
หลายครั้ง ได้แก่
- ในสมัยแผ่นดินจักรพรรดิเหลียงอู่ตี้ (梁武帝) แห่งเหลียงใต้ ยุคราชวงศ์เหนือใต้
(ค.ศ. 464-549) โดยในปี ค.ศ. 518 มีพระราชโองการให้ช าระรวบรวมพระไตรปิฎกฉบับแปลทั้งหมด
รวมถึงปกรณ์วิเศษ จ านวนรวม 1,433 คัมภีร์ หรือ 3,741 ผูก
- ต่อมาในสมัยราชวงศ์เว่ยมีการช าระพระไตรปิฎกภาษาจีน 1 ครั้ง สมัยราชวงศ์เป่ ยฉี (ยุคราชวงศ์เหนือใต้)
มีการช าระอีก 1 ครั้ง
- และในสมัยราชวงศ์สุยมีการช าระ 3 ครั้ง
- จวบจนถึงสมัยราชวงศ์ถังที่พระพุทธศาสนามีความเจริญรุ่งเรืองอย่างยิ่ง มีการช าระพระไตรปิฎกถึง 9 ครั้ง
รวมทั้งสิ้นมีการช าระพระไตรปิฎกฉบับคัดลอกลายมือทั้งหมด 15 ครั้ง
โดยการช าระตรวจสอบพระไตรปิฎกฉบับคัดลอกลายมือในสมัยราชวงศ์ถังนี้เองได้กลายมาเป็นข้อมูลส าคัญ
ในการจัดพิมพ์พระไตรปิฎกในกาลต่อมา
- นับตั้งแต่ราชวงศ์ซ่งเป็ นต้นมา ได้มีวิวัฒนาการการพิมพ์จากแผ่นแท่นพิมพ์ไม้โดยการแกะสลักตัวอักษรกลับด้าน
น าหมึกมาระบายที่แท่นพิมพ์ แล้วจึงน ากระดาษมาทาบพิมพ์ทีละแผ่น ท าให้เริ่มมีพระไตรปิฎกฉบับพิมพ์เกิดขึ้น
โดยในสมัยซ่งเหนือ จักรพรรดิไท่จู่ 宋太祖(ค.ศ. 960-976) ได้จัดตั้งโรงแกะสลักแผ่นไม้แม่พิมพ์พระไตรปิฏก
ที่มีชื่อเรียกว่า ฉบับไคเป่ าจ้าง(开宝藏) หรือที่มีความหมายว่า ฉบับปฐมรัตนปิฎก เนื่องจากจัดท าในช่วง
ปีไคเป่าที่ (开宝四年) หรือในปี ค.ศ. 971 ที่เมืองอี้โจวซึ่งปัจจุบันคือมณฑลเสฉวน (益州 (成都附近))
ท าการแกะสลักแล้วเสร็จในปี ค.ศ. 983
- ในสมัยของจักรพรรดิไท่จง 宋太宗 (ค.ศ. 976-997) ใช้ระยะเวลาในการแกะสลักถึง 12 ปี โดยมีแผ่นไม้แม่พิมพ์
กว่า 130,000 แผ่น ส่งจากเสฉวนมายังเมืองหลวงซึ่งจักรพรรดิไท่จงได้จัดให้มีโรงพิมพ์ในวัดไท่ผิงซิ่งกวอ (太平兴国寺)
ซึ่งอยู่ที่ทางทิศตะวันตกของส านักแปล และเริ่มด าเนินกิจการการพิมพ์มาตั้งแต่นั้นมา แต่เนื่องด้วยสถานการณ์
ในประเทศเกิดความวุ่นวายจึงได้ยุติการพิมพ์ลงในปี ค.ศ. 1071 และแผ่นไม้แม่พิมพ์ได้ถูกย้ายไปอยู่ที่ส านัก
เซนโซว่เซิ่ง วัดเซี่ยนเซิ่ง 显圣寺的寿圣禅院 ต่อมาแคว้นจิ้นบุกรุกยึดครองซ่งเหนือ ท าให้แผ่นไม้
แม่พิมพ์ทั้งหมดถูกเผาท าลายลงไปพร้อมกับราชวงศ์ซ่งเหนือ อย่างไรก็ตามนับเป็นความโชคดี
ที่จักรพรรดิไท่จงได้มอบพระไตรปิฎกชุดนี้ให้กับญี่ปุ่ นและเกาหลีในปี ค.ศ. 988-989 และเกาหลี
ได้จัดท าแท่นพิมพ์ไม้แกะสลักพระไตรปิฎกในปีค.ศ. 1011-1082 แต่กระนั้นพระไตรปิฎกแท่นพิมพ์ไม้
ดังกล่าวได้ถูกเผาท าลายลงไปเช่นกัน จึงมีการแกะสลักใหม่อีกครั้งในปี ค.ศ. 1236-1251
ทั้งหมดนี้เป็นเพียงแค่จุดเริ่มต้นของพระไตรปิฎกภาษาจีน โดยยังคงมีการจัดพิมพ์พระไตรปิฎกอีกหลายฉบับ
ในเวลาต่อมา ดังที่จะกล่าวในหัวข้อถัดไป
พระไตร(มหา)ปิฎกภาษาจีนฉบบัพิมพฉบับสำคัญ...และ...ฉบับอิเลกทรอนิกสค์
เรื่องเล่าพระไตรปิกฎก...ตอนที่-3:...มหาปิฎกภาษาจีนจากฉบับเขียนคัดลอก...ไปสู่...ฉบับพิมพ์
หลังจากที่จีนสามารถประดิษฐ์กระดาษได้แล้วในราว ค.ศ. 105
ดังนั้นพระไตรปิฎกภาษาจีนจึงมีจุดเริ่มต้นด้วยการคัดลอกลงในกระดาษ
โดยเขียนลงบนกระดาษม้วนยาวหลายแผ่นต่อกันแล้วม้วน
เป็นพับ ๆ โดยเขียนเพียงด้านเดียว ท าให้พระสูตรมีลักษณะนามว่า 卷 ที่แปลว่าม้วน หรือ ผูก
ซึ่งชาวจีนเชื่อกันว่าการคัดลอกพระสูตรนั้นได้บุญมาก จึงมีการคัดลอกสืบต่อกันมาจากประวัติศาสตร์
พระภิกษุผู้ทรงคุณูปการในด้านการเดินทางไปตะวันตกเพื่อน าพระสูตรกลับมา
เฉกเช่น พระจูซื่อสิง(ค.ศ. 203-282) ซึ่งเป็นพระภิกษุจีนรูปแรกที่ได้เดินทางไปถึงโขตาน
ในพื้นที่ดินแดนตะวันตกและพบพระสูตรจ านวนมาก ท่านจึงไม่ได้เดินทางไปอินเดียต่อ
และได้ท าการคัดลอกพระสูตรลงในกระดาษและให้ลูกศิษย์ส่งกลับจีน ปัจจุบันได้ค้นพบ
พระสูตรฉบับเขียนคัดลอกมากมายในถ ้าตุนหวงมณฑลกานซู่ โดยถูกเก็บไว้ในพิพิธภัณฑ์ต่าง ๆ
การแปลและคัดลอกพระสูตรจัดท าโดยกลุ่มบุคคลที่หลากหลาย ทั้งผู้แปลที่เป็นพระภิกษุ
ต่างชาติร่วมกับพระภิกษุจีน หรือพระภิกษุต่างชาติที่มีความรู้ภาษาจีน หรือพระภิกษุจีนที่มีความรู้
ทางภาษาสันสฤตและภาษาปรากฤตในเมืองเขตดินแดนตะวันตก ท าให้มีการแปลพระสูตร
อย่างแพร่หลายในประเทศจีน
และด้วยเหตุนี้ท าให้พระเต้าอัน 释道安 (ค.ศ. 312-385) ซึ่งเป็นพระที่มีชื่อเสียงมากในยุคราชวงศ์เหนือใต้
ได้รวบรวมพระสูตรที่แปลเหล่านี้ จัดท าเป็นบัญชีรายชื่อหรือทะเบียนพระสูตรที่เรียกชื่อว่า
สารบัญทะเบียนที่ครอบคลุมพระสูตรทั้งหลาย (综理众经目录, Zōng lǐ zhòng jīng mùlù)
ต่อมาพระเซิงโย่ว 释僧祐 (445-518) ได้รวบรวมพระสูตรที่แปลเพิ่มเติมในเวลาต่อมาท าเป็นทะเบียน
พระสูตรเช่นกัน โดยเพิ่มเติมจากของที่พระเต้าอันที่ได้บันทึกไว้ บัญชีรายชื่อนี้มี
ชื่อเรียกว่า บันทึกการรวบรวมพระไตรปิฎก (出三藏記集, Chū sānzàng jì jí) และได้มีการบันทึก
บัญชีรายชื่อพระสูตรต่อมาอีกหลายฉบับจนถึงยุคราชวงศ์ชิงรวมทั้งสิ้น 27 บันทึก
ซึ่งบันทึกเหล่านี้มีความส าคัญทั้งในด้านการบันทึกประวัติศาสตร์เรื่องราวของพระสูตร
และผู้แปลในยุคนั้น ๆ รวมถึงสามารถศึกษาเทียบเคียงเนื้อหาเพื่อหาพระสูตรที่สูญหายไป
หรือยืนยันการมีอยู่จริงของพระสูตรได้จากบันทึกบัญชีรายชื่อเหล่านี้
ในประวัติศาสตร์มีปรากฏเรื่องราวการรวบรวมและช าระพระไตรปิฎกฉบับคัดลอกลายมือ
หลายครั้ง ได้แก่
- ในสมัยแผ่นดินจักรพรรดิเหลียงอู่ตี้ (梁武帝) แห่งเหลียงใต้ ยุคราชวงศ์เหนือใต้
(ค.ศ. 464-549) โดยในปี ค.ศ. 518 มีพระราชโองการให้ช าระรวบรวมพระไตรปิฎกฉบับแปลทั้งหมด
รวมถึงปกรณ์วิเศษ จ านวนรวม 1,433 คัมภีร์ หรือ 3,741 ผูก
- ต่อมาในสมัยราชวงศ์เว่ยมีการช าระพระไตรปิฎกภาษาจีน 1 ครั้ง สมัยราชวงศ์เป่ ยฉี (ยุคราชวงศ์เหนือใต้)
มีการช าระอีก 1 ครั้ง
- และในสมัยราชวงศ์สุยมีการช าระ 3 ครั้ง
- จวบจนถึงสมัยราชวงศ์ถังที่พระพุทธศาสนามีความเจริญรุ่งเรืองอย่างยิ่ง มีการช าระพระไตรปิฎกถึง 9 ครั้ง
รวมทั้งสิ้นมีการช าระพระไตรปิฎกฉบับคัดลอกลายมือทั้งหมด 15 ครั้ง
โดยการช าระตรวจสอบพระไตรปิฎกฉบับคัดลอกลายมือในสมัยราชวงศ์ถังนี้เองได้กลายมาเป็นข้อมูลส าคัญ
ในการจัดพิมพ์พระไตรปิฎกในกาลต่อมา
- นับตั้งแต่ราชวงศ์ซ่งเป็ นต้นมา ได้มีวิวัฒนาการการพิมพ์จากแผ่นแท่นพิมพ์ไม้โดยการแกะสลักตัวอักษรกลับด้าน
น าหมึกมาระบายที่แท่นพิมพ์ แล้วจึงน ากระดาษมาทาบพิมพ์ทีละแผ่น ท าให้เริ่มมีพระไตรปิฎกฉบับพิมพ์เกิดขึ้น
โดยในสมัยซ่งเหนือ จักรพรรดิไท่จู่ 宋太祖(ค.ศ. 960-976) ได้จัดตั้งโรงแกะสลักแผ่นไม้แม่พิมพ์พระไตรปิฏก
ที่มีชื่อเรียกว่า ฉบับไคเป่ าจ้าง(开宝藏) หรือที่มีความหมายว่า ฉบับปฐมรัตนปิฎก เนื่องจากจัดท าในช่วง
ปีไคเป่าที่ (开宝四年) หรือในปี ค.ศ. 971 ที่เมืองอี้โจวซึ่งปัจจุบันคือมณฑลเสฉวน (益州 (成都附近))
ท าการแกะสลักแล้วเสร็จในปี ค.ศ. 983
- ในสมัยของจักรพรรดิไท่จง 宋太宗 (ค.ศ. 976-997) ใช้ระยะเวลาในการแกะสลักถึง 12 ปี โดยมีแผ่นไม้แม่พิมพ์
กว่า 130,000 แผ่น ส่งจากเสฉวนมายังเมืองหลวงซึ่งจักรพรรดิไท่จงได้จัดให้มีโรงพิมพ์ในวัดไท่ผิงซิ่งกวอ (太平兴国寺)
ซึ่งอยู่ที่ทางทิศตะวันตกของส านักแปล และเริ่มด าเนินกิจการการพิมพ์มาตั้งแต่นั้นมา แต่เนื่องด้วยสถานการณ์
ในประเทศเกิดความวุ่นวายจึงได้ยุติการพิมพ์ลงในปี ค.ศ. 1071 และแผ่นไม้แม่พิมพ์ได้ถูกย้ายไปอยู่ที่ส านัก
เซนโซว่เซิ่ง วัดเซี่ยนเซิ่ง 显圣寺的寿圣禅院 ต่อมาแคว้นจิ้นบุกรุกยึดครองซ่งเหนือ ท าให้แผ่นไม้
แม่พิมพ์ทั้งหมดถูกเผาท าลายลงไปพร้อมกับราชวงศ์ซ่งเหนือ อย่างไรก็ตามนับเป็นความโชคดี
ที่จักรพรรดิไท่จงได้มอบพระไตรปิฎกชุดนี้ให้กับญี่ปุ่ นและเกาหลีในปี ค.ศ. 988-989 และเกาหลี
ได้จัดท าแท่นพิมพ์ไม้แกะสลักพระไตรปิฎกในปีค.ศ. 1011-1082 แต่กระนั้นพระไตรปิฎกแท่นพิมพ์ไม้
ดังกล่าวได้ถูกเผาท าลายลงไปเช่นกัน จึงมีการแกะสลักใหม่อีกครั้งในปี ค.ศ. 1236-1251
ทั้งหมดนี้เป็นเพียงแค่จุดเริ่มต้นของพระไตรปิฎกภาษาจีน โดยยังคงมีการจัดพิมพ์พระไตรปิฎกอีกหลายฉบับ
ในเวลาต่อมา ดังที่จะกล่าวในหัวข้อถัดไป
พระไตร(มหา)ปิฎกภาษาจีนฉบบัพิมพฉบับสำคัญ...และ...ฉบับอิเลกทรอนิกสค์