คือใช้ระบบ MMP แบบในปี 62 เหมือนเดิม แต่ สส. เขตมีหน้าที่กำหนดแค่ว่าคนไหนจะมาเป็นผู้แทนในที่นั้นๆ แต่ที่นั่งในสภาจริงๆ เอาคะแนนโหวตว่าชอบพรรคไหนมาเป็นตัวกำหนดที่นั่งทั้ง 500 ที่นั่งในสภาไปเลย โดยใช้ สส. แบบบัญชีรายชื่อ เป็นผู้แทนในสภา โดยมีข้อแม้ว่าจะต้องมีคะแนนโหวตมากกว่า 1% ของผู้มาใช้สิทธิ์ทั้งหมด เช่น ยกตัวอย่างตอนปี 62
แบบเดิมปี 62 (เฉพาะพรรคที่มีผลโหวตมากกว่า 1%)
พรรคพลังประชารัฐ 8,441,274 คะแนน (สส. เขต 97 คน / สส. บัญชีรายชื่อ 19 คน)
พรรคเพื่อไทย 7,881,006 คะแนน (สส. เขต 136 คน / สส. บัญชีรายชื่อ 0 คน)
พรรคอนาคตใหม่ 6,330,617 คะแนน (สส. เขต 31 คน / สส. บัญชีรายชื่อ 50 คน)
พรรคประชาธิปัตย์ 3,959,358 คะแนน (สส. เขต 33 คน / สส. บัญชีรายชื่อ 20 คน)
พรรคภูมิใจไทย 3,734,459 คะแนน (สส. เขต 39 คน / สส. บัญชีรายชื่อ 12 คน)
พรรคเสรีรวมไทย 824,284 คะแนน (สส. เขต 0 คน / สส. บัญชีรายชื่อ 10 คน)
พรรคชาติไทยพัฒนา 783,689 คะแนน (สส. เขต 6 คน / สส. บัญชีรายชื่อ 4 คน)
พรรคประชาชาติ 481,490 คะแนน (สส. เขต 6 คน / สส. บัญชีรายชื่อ 1 คน)
พรรคเศรษฐกิจใหม่ 486,273 คะแนน (สส. เขต 0 คน / สส. บัญชีรายชื่อ 6 คน)
พรรคเพื่อชาติ 421,412 คะแนน (สส. เขต 0 คน / สส. บัญชีรายชื่อ 5 คน)
พรรครวมพลังประชาชาติไทย 415,585 คะแนน (สส. เขต 1 คน / สส. บัญชีรายชื่อ 4 คน)
แบบ MMP ที่ใช้คะแนนโหวตความนิยมพรรคมาเป็นตัวกำหนดที่นั่งในสภา โดยผู้แทนแบบบัญชีรายชื่อจะเป็นผู้ที่มีหน้าที่นั่งในสภา (เฉพาะพรรคที่มีผลโหวตมากกว่า 1%)
พรรคพลังประชารัฐ 8,441,274 คะแนน (125 ที่นั่ง)
พรรคเพื่อไทย 7,881,006 คะแนน (117 ที่นั่ง)
พรรคอนาคตใหม่ 6,330,617 คะแนน (94 ที่นั่ง)
พรรคประชาธิปัตย์ 3,959,358 คะแนน (59 ที่นั่ง)
พรรคภูมิใจไทย 3,734,459 คะแนน (55 ที่นั่ง)
พรรคเสรีรวมไทย 824,284 คะแนน (12 ที่นั่ง)
พรรคชาติไทยพัฒนา 783,689 คะแนน (12 ที่นั่ง)
พรรคประชาชาติ 481,490 คะแนน (7 ที่นั่ง)
พรรคเศรษฐกิจใหม่ 486,273 คะแนน(7 ที่นั่ง)
พรรคเพื่อชาติ 421,412 คะแนน (6 ที่นั่ง)
พรรครวมพลังประชาชาติไทย 415,585 คะแนน (6 ที่นั่ง)
แบบนี้จะยุติธรรมกว่าแบบปี 62 หรือไม่ และจริงๆ การดูแลพื้นที่นั่นๆไม่ใช่หน้าที่ของ สส. เขตด้วย เพราะเป็นหน้าที่ของเทศบาล อบต อบจ อยู่แล้ว สส. เขตมีหน้าที่ประสานงานเท่านั้น และตัดปัญหาพรรคเล็ก พรรคน้อย ผลโหวต 30,000-40,000 คะแนน ก็มีผู้แทน 1 คนก็เข้าไปนั่งในสภาได้
ประเทศไทยใช้ระบบเลือกตั้งแบบ MMP ที่ไม่ต้องมี สส. เขตในสภาได้ไหมครับ?
แบบเดิมปี 62 (เฉพาะพรรคที่มีผลโหวตมากกว่า 1%)
พรรคพลังประชารัฐ 8,441,274 คะแนน (สส. เขต 97 คน / สส. บัญชีรายชื่อ 19 คน)
พรรคเพื่อไทย 7,881,006 คะแนน (สส. เขต 136 คน / สส. บัญชีรายชื่อ 0 คน)
พรรคอนาคตใหม่ 6,330,617 คะแนน (สส. เขต 31 คน / สส. บัญชีรายชื่อ 50 คน)
พรรคประชาธิปัตย์ 3,959,358 คะแนน (สส. เขต 33 คน / สส. บัญชีรายชื่อ 20 คน)
พรรคภูมิใจไทย 3,734,459 คะแนน (สส. เขต 39 คน / สส. บัญชีรายชื่อ 12 คน)
พรรคเสรีรวมไทย 824,284 คะแนน (สส. เขต 0 คน / สส. บัญชีรายชื่อ 10 คน)
พรรคชาติไทยพัฒนา 783,689 คะแนน (สส. เขต 6 คน / สส. บัญชีรายชื่อ 4 คน)
พรรคประชาชาติ 481,490 คะแนน (สส. เขต 6 คน / สส. บัญชีรายชื่อ 1 คน)
พรรคเศรษฐกิจใหม่ 486,273 คะแนน (สส. เขต 0 คน / สส. บัญชีรายชื่อ 6 คน)
พรรคเพื่อชาติ 421,412 คะแนน (สส. เขต 0 คน / สส. บัญชีรายชื่อ 5 คน)
พรรครวมพลังประชาชาติไทย 415,585 คะแนน (สส. เขต 1 คน / สส. บัญชีรายชื่อ 4 คน)
แบบ MMP ที่ใช้คะแนนโหวตความนิยมพรรคมาเป็นตัวกำหนดที่นั่งในสภา โดยผู้แทนแบบบัญชีรายชื่อจะเป็นผู้ที่มีหน้าที่นั่งในสภา (เฉพาะพรรคที่มีผลโหวตมากกว่า 1%)
พรรคพลังประชารัฐ 8,441,274 คะแนน (125 ที่นั่ง)
พรรคเพื่อไทย 7,881,006 คะแนน (117 ที่นั่ง)
พรรคอนาคตใหม่ 6,330,617 คะแนน (94 ที่นั่ง)
พรรคประชาธิปัตย์ 3,959,358 คะแนน (59 ที่นั่ง)
พรรคภูมิใจไทย 3,734,459 คะแนน (55 ที่นั่ง)
พรรคเสรีรวมไทย 824,284 คะแนน (12 ที่นั่ง)
พรรคชาติไทยพัฒนา 783,689 คะแนน (12 ที่นั่ง)
พรรคประชาชาติ 481,490 คะแนน (7 ที่นั่ง)
พรรคเศรษฐกิจใหม่ 486,273 คะแนน(7 ที่นั่ง)
พรรคเพื่อชาติ 421,412 คะแนน (6 ที่นั่ง)
พรรครวมพลังประชาชาติไทย 415,585 คะแนน (6 ที่นั่ง)
แบบนี้จะยุติธรรมกว่าแบบปี 62 หรือไม่ และจริงๆ การดูแลพื้นที่นั่นๆไม่ใช่หน้าที่ของ สส. เขตด้วย เพราะเป็นหน้าที่ของเทศบาล อบต อบจ อยู่แล้ว สส. เขตมีหน้าที่ประสานงานเท่านั้น และตัดปัญหาพรรคเล็ก พรรคน้อย ผลโหวต 30,000-40,000 คะแนน ก็มีผู้แทน 1 คนก็เข้าไปนั่งในสภาได้