คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 18
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
"อว. เผยฉีดวัคซีนของไทย ณ วันที่ 27 มกราคม 2565 ฉีดวัคซีนแล้ว 113,622,267 โดส และทั่วโลกแล้ว 10,007 ล้านโดส ใน 205 ประเทศ/เขตปกครอง ส่วนอาเซียนฉีดแล้วทุกประเทศ รวมกันกว่า 886.2 ล้านโดส โดยกรุงเทพฯ ยังเป็นพื้นที่ฉีดวัคซีนเข็ม 1 มากสุด (111.1%)
(27 มกราคม 2565) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) เผยข้อมูลสถิติการฉีดวัคซีนโควิด-19 ทั่วโลกแล้ว 10,007 ล้านโดส ใน 205 ประเทศ/เขตปกครอง โดยขณะนี้อัตราการฉีดล่าสุดรวมกันทั่วโลกที่ 32 ล้านโดสต่อวัน และมีแนวโน้มที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ในขณะที่สหรัฐอเมริกามีจำนวนการฉีดวัคซีนสูงที่สุดที่ 536 ล้านโดส โดยมีชาวอเมริกันกว่า 211 ล้านคนได้รับวัคซีนครบ 2 โดสแล้ว"
ด้านอาเซียนขณะนี้ทุกประเทศได้ฉีดวัคซีนป้องกันโรคโควิด-19 แล้ว มียอดรวมกันที่ประมาณ 886.2 ล้านโดส โดยบรูไนฉีดวัคซีนในสัดส่วนประชากรมากที่สุดในภูมิภาค (94.8% ของประชากร) ในขณะที่อินโดนีเซียฉีดวัคซีนในจำนวนมากที่สุดที่ 309.4 ล้านโดส สำหรับประเทศไทยข้อมูล ณ วันที่ 27 มกราคม 2565 ได้ฉีดวัคซีนแล้วกว่า 113,622,267 โดส โดยฉีดให้กับประชาชนมากที่สุดในสัดส่วนกว่า 64.72%
ในการฉีดวัคซีน จำนวน 10,007ล้านโดสนี้ อว. ขอรายงานสถิติที่สำคัญ คือ
1) ข้อมูลการฉีดวัคซีนล่าสุดของประเทศไทย ณ วันที่ 27 มกราคม 2565
จำนวนการฉีดวัคซีนสะสม 113,622,267 โดส ใน 77 จังหวัด แบ่งเป็น
-เข็มแรก 52,174,471 โดส (78.8% ของประชากร)
-เข็มสอง 48,355,039 โดส (73.1% ของประชากร)
-เข็มสาม 13,092,757 โดส (19.8% ของประชากร)
2) อัตราการฉีดวัคซีนตั้งแต่ 28 ก.พ.-27 ม.ค. 65 พบว่า ประเทศไทยฉีดวัคซีนแล้ว 113,622,267 โดส ฉีดเพิ่มขึ้น 440,671 โดส (อัตราการฉีดล่าสุดเฉลี่ย 3 วันย้อนหลัง ตั้งแต่วันที่ 7 มิ.ย. 64 ซึ่งเป็นการฉีดวัคซีนวาระแห่งชาติ 473,112 โดส/วัน
3) อัตราการฉีดวัคซีน ประกอบด้วย
วัคซีน Sinovac
- เข็มที่ 1 22,856,113 โดส
- เข็มที่ 2 3,579,890 โดส
- เข็มที่ 3 0 โดส
วัคซีน AstraZeneca
- เข็มที่ 1 13,676,212 โดส
- เข็มที่ 2 28,174,334 โดส
- เข็มที่ 3 3,864,815 โดส
วัคซีน Sinopharm
- เข็มที่ 1 7,497,307 โดส
- เข็มที่ 2 7,177,155 โดส
- เข็มที่ 3 0 โดส
วัคซีน Pfizer
- เข็มที่ 1 7,464,384 โดส
- เข็มที่ 2 8,680,185 โดส
- เข็มที่ 37,249,185 โดส
วัคซีน Moderna
- เข็มที่ 1 667,455 โดส
- เข็มที่ 2 743,475 โดส
- เข็มที่ 3 1,978,757 โดส
4) การฉีดวัคซีนโควิด-19 แยกตามกลุ่มเป้าหมาย
- บุคลากรการแพทย์/สาธารณสุข เข็มที่1 114.2% เข็มที่2 112% เข็มที่3 97.5%
- อสม เข็มที่1 79.9% เข็มที่2 77.9% เข็มที่3 36%
- ผู้ที่มีโรคเรื้อรัง 7 กลุ่มโรค เข็มที่1 105.6% เข็มที่2 100% เข็มที่3 28.8%
- ประชาชนทั่วไป เข็มที่1 88.3% เข็มที่2 81% เข็มที่3 22.6%
- ผู้ที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 65.8% เข็มที่2 61.2% เข็มที่3 15.7%
- นักเรียน/นักศึกษา อายุ 12-17 ปี เข็มที่1 71.6% เข็มที่2 69.1% เข็มที่3 0%
รวม เข็มที่1 75% เข็มที่2 69.5% เข็มที่3 18.8%
5) 10 จังหวัดที่มีการฉีดวัคซีนเข็มที่ 2 ครอบคลุมประชากรสูงที่สุด
1. กรุงเทพมหานคร เข็มที่1 111.1% เข็มที่2 103%
2. ภูเก็ต เข็มที่1 89.5% เข็มที่2 86.9%
3. ปทุมธานี เข็มที่1 86.6% เข็มที่2 81.5%
4. ระนอง เข็มที่1 83% เข็มที่2 79.1%
5. สมุทรปราการ เข็มที่1 90.3% เข็มที่2 78.9%
6. ระยอง เข็มที่1 82.4% เข็มที่2 78.6%
7. ชลบุรี เข็มที่1 81.5% เข็มที่2 77.5%
8. นนทบุรี เข็มที่1 80.9% เข็มที่2 77.5%
9. พังงา เข็มที่1 77.8% เข็มที่2 75.7%
10. นครปฐม เข็มที่1 75.6% เข็มที่2 74.8%
10 จังหวัดที่มีการฉีดวัคซีนเข็มที่ 2 ครอบคลุมประชากรต่ำที่สุด
1. แม่ฮ่องสอน เข็มที่1 55.7% เข็มที่2 41.5%
2. นราธิวาส เข็มที่1 54.9% เข็มที่2 44.3%
3. ปัตตานี เข็มที่1 55.8% เข็มที่2 44.9%
4. ตาก เข็มที่1 56.2% เข็มที่2 46.9%
5. ยะลา เข็มที่1 62.3% เข็มที่2 52%
6. กาญจนบุรี เข็มที่1 55.9% เข็มที่2 52.9%
7. ลพบุรี เข็มที่1 57.5% เข็มที่2 53.4%
8. บึงกาฬ เข็มที่1 62.5% เข็มที่2 53.7%
9. หนองบัวลำภู เข็มที่1 61.9% เข็มที่2 54.9%
10. สกลนคร เข็มที่1 63.8% เข็มที่2 55.2%
6) ในภูมิภาคอาเซียน ได้ฉีดวัคซีนแล้วครบ 10 ประเทศ รวมจำนวน 886,249,482 โดส ได้แก่
1. อินโดนีเซีย จำนวน 309,473,499 โดส (66.4%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Sinovac, AstraZeneca, Moderna และ Sinopharm
2. เวียดนาม จำนวน 178,818,612 โดส (80.9%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca, Pfizer, Moderna และ Sinopharm
3. ฟิลิปปินส์ 125,089,117 โดส (54.2%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Sinovac, Pfizer, Sputnik V, Moderna, J&J และ AstraZeneca
4. ไทย จำนวน 113,622,267 โดส (78.8%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Pfizer, Sinovac, AstraZeneca และ Sinopharm
5. มาเลเซีย จำนวน 62,892,195 โดส (79.8%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Pfizer, AstraZeneca และ Sinovac
6. พม่า จำนวน 40,437,126 โดส (40.1%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca และ Sinopharm
7. กัมพูชา จำนวน 33,554,563 โดส (84.8%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Sinopharm, AstraZeneca, J&J และ Sinovac
8. สิงคโปร์ จำนวน 12,684,264 โดส (91%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Pfizer, Moderna และ Sinovac
9. ลาว จำนวน 8,731,669 โดส (64%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Sinopharm, Sputnik V, Pfizer, J&J, Sinovac และ AstraZeneca
10. บรูไน จำนวน 946,170 โดส (94.8%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca และ Sinopharm
* คำนวณจากจำนวนฉีด/จำนวนประชากร อย่างน้อย 1 เข็ม
7) จำนวนการฉีดวัคซีนแยกตามภูมิภาค
1. เอเชียและตะวันออกกลาง 69.71%
2. ยุโรป 10.35%
3. อเมริกาเหนือ 8.81%
4. ลาตินอเมริกาและแคริบเบียน 7.02%
5. แอฟริกา 3.51%
6. โอเชียเนีย 0.60%
8) ประเทศที่ฉีดวัคซีนแล้วมากที่สุด 5 ประเทศลำดับแรกที่ฉีดวัคซีนมากกว่า 100 ล้านโดส รวมกันเกือบ 70% ของปริมาณการฉีดวัคซีนทั่วโลก
1. จีน จำนวน 2,978.65 ล้านโดส (210.6% ของจำนวนโดสที่ฉีดต่อประชากร)
2. อินเดีย จำนวน 1,679.34 ล้านโดส (121.8%)
3. สหรัฐอเมริกา จำนวน 536.35 ล้านโดส (160%)
4. บราซิล จำนวน 355.99 ล้านโดส (168.1%)
5. อินโดนีเซีย จำนวน 308.17 ล้านโดส (111.7%)
9) ประเทศที่ฉีดวัคซีนครอบคลุมประชากรมากที่สุด มี 10 ประเทศที่ฉีดวัคซีนให้กับประชากรอย่างน้อย 25% แล้ว ได้แก่ (เฉพาะประเทศที่มีประชากรมากกว่า 500,000 คน)
1. คิวบา (297.6%) (ฉีดวัคซีนของ Abdala และ Soberana02)
2. สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ (252.2%) (ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca/Oxford, Pfizer/BioNTech, Sinopharm และ Gamaleya)
3. ชิลี (238.3%) (ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca/Oxford, CanSino, Pfizer/BioNTech และ Sinovac)
4. เดนมาร์ก (232.6%) (ฉีดวัคซีนของ Pfizer/BioNTech Moderna และ J&J)
5. บาห์เรน (227.2%) (ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca/Oxford, Pfizer/BioNTech, Sinopharm และ Gamaley)
6. เกาหลีใต้ (220.7%) (ฉีดวัคซีนของ Pfizer/BioNTech J&J AstraZeneca/Oxford และ Moderna)
7. มัลดีฟส์ (216.7%) (ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca/Oxford, Pfizer/BioNTech และ Sinopharm)
8. สิงคโปร์ (215.4%) (ฉีดวัคซีนของ Pfizer/BioNTech Moderna และ Sinovac)
9. บรูไน (214.6%) (ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca/Oxford และ Sinopharm)
10. จีน (212.1%) (ฉีดวัคซีนของ Sinopharm, Sinovac, CanSino และ Anhui)
แหล่งข้อมูล Bloomberg Vaccine Tracker, กระทรวงสาธารณสุข
ประมวลข้อมูลโดย กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.)
https://www.facebook.com/nrctofficial/posts/4617038365088366
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
"อว. เผยฉีดวัคซีนของไทย ณ วันที่ 27 มกราคม 2565 ฉีดวัคซีนแล้ว 113,622,267 โดส และทั่วโลกแล้ว 10,007 ล้านโดส ใน 205 ประเทศ/เขตปกครอง ส่วนอาเซียนฉีดแล้วทุกประเทศ รวมกันกว่า 886.2 ล้านโดส โดยกรุงเทพฯ ยังเป็นพื้นที่ฉีดวัคซีนเข็ม 1 มากสุด (111.1%)
(27 มกราคม 2565) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) เผยข้อมูลสถิติการฉีดวัคซีนโควิด-19 ทั่วโลกแล้ว 10,007 ล้านโดส ใน 205 ประเทศ/เขตปกครอง โดยขณะนี้อัตราการฉีดล่าสุดรวมกันทั่วโลกที่ 32 ล้านโดสต่อวัน และมีแนวโน้มที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ในขณะที่สหรัฐอเมริกามีจำนวนการฉีดวัคซีนสูงที่สุดที่ 536 ล้านโดส โดยมีชาวอเมริกันกว่า 211 ล้านคนได้รับวัคซีนครบ 2 โดสแล้ว"
ด้านอาเซียนขณะนี้ทุกประเทศได้ฉีดวัคซีนป้องกันโรคโควิด-19 แล้ว มียอดรวมกันที่ประมาณ 886.2 ล้านโดส โดยบรูไนฉีดวัคซีนในสัดส่วนประชากรมากที่สุดในภูมิภาค (94.8% ของประชากร) ในขณะที่อินโดนีเซียฉีดวัคซีนในจำนวนมากที่สุดที่ 309.4 ล้านโดส สำหรับประเทศไทยข้อมูล ณ วันที่ 27 มกราคม 2565 ได้ฉีดวัคซีนแล้วกว่า 113,622,267 โดส โดยฉีดให้กับประชาชนมากที่สุดในสัดส่วนกว่า 64.72%
ในการฉีดวัคซีน จำนวน 10,007ล้านโดสนี้ อว. ขอรายงานสถิติที่สำคัญ คือ
1) ข้อมูลการฉีดวัคซีนล่าสุดของประเทศไทย ณ วันที่ 27 มกราคม 2565
จำนวนการฉีดวัคซีนสะสม 113,622,267 โดส ใน 77 จังหวัด แบ่งเป็น
-เข็มแรก 52,174,471 โดส (78.8% ของประชากร)
-เข็มสอง 48,355,039 โดส (73.1% ของประชากร)
-เข็มสาม 13,092,757 โดส (19.8% ของประชากร)
2) อัตราการฉีดวัคซีนตั้งแต่ 28 ก.พ.-27 ม.ค. 65 พบว่า ประเทศไทยฉีดวัคซีนแล้ว 113,622,267 โดส ฉีดเพิ่มขึ้น 440,671 โดส (อัตราการฉีดล่าสุดเฉลี่ย 3 วันย้อนหลัง ตั้งแต่วันที่ 7 มิ.ย. 64 ซึ่งเป็นการฉีดวัคซีนวาระแห่งชาติ 473,112 โดส/วัน
3) อัตราการฉีดวัคซีน ประกอบด้วย
วัคซีน Sinovac
- เข็มที่ 1 22,856,113 โดส
- เข็มที่ 2 3,579,890 โดส
- เข็มที่ 3 0 โดส
วัคซีน AstraZeneca
- เข็มที่ 1 13,676,212 โดส
- เข็มที่ 2 28,174,334 โดส
- เข็มที่ 3 3,864,815 โดส
วัคซีน Sinopharm
- เข็มที่ 1 7,497,307 โดส
- เข็มที่ 2 7,177,155 โดส
- เข็มที่ 3 0 โดส
วัคซีน Pfizer
- เข็มที่ 1 7,464,384 โดส
- เข็มที่ 2 8,680,185 โดส
- เข็มที่ 37,249,185 โดส
วัคซีน Moderna
- เข็มที่ 1 667,455 โดส
- เข็มที่ 2 743,475 โดส
- เข็มที่ 3 1,978,757 โดส
4) การฉีดวัคซีนโควิด-19 แยกตามกลุ่มเป้าหมาย
- บุคลากรการแพทย์/สาธารณสุข เข็มที่1 114.2% เข็มที่2 112% เข็มที่3 97.5%
- อสม เข็มที่1 79.9% เข็มที่2 77.9% เข็มที่3 36%
- ผู้ที่มีโรคเรื้อรัง 7 กลุ่มโรค เข็มที่1 105.6% เข็มที่2 100% เข็มที่3 28.8%
- ประชาชนทั่วไป เข็มที่1 88.3% เข็มที่2 81% เข็มที่3 22.6%
- ผู้ที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 65.8% เข็มที่2 61.2% เข็มที่3 15.7%
- นักเรียน/นักศึกษา อายุ 12-17 ปี เข็มที่1 71.6% เข็มที่2 69.1% เข็มที่3 0%
รวม เข็มที่1 75% เข็มที่2 69.5% เข็มที่3 18.8%
5) 10 จังหวัดที่มีการฉีดวัคซีนเข็มที่ 2 ครอบคลุมประชากรสูงที่สุด
1. กรุงเทพมหานคร เข็มที่1 111.1% เข็มที่2 103%
2. ภูเก็ต เข็มที่1 89.5% เข็มที่2 86.9%
3. ปทุมธานี เข็มที่1 86.6% เข็มที่2 81.5%
4. ระนอง เข็มที่1 83% เข็มที่2 79.1%
5. สมุทรปราการ เข็มที่1 90.3% เข็มที่2 78.9%
6. ระยอง เข็มที่1 82.4% เข็มที่2 78.6%
7. ชลบุรี เข็มที่1 81.5% เข็มที่2 77.5%
8. นนทบุรี เข็มที่1 80.9% เข็มที่2 77.5%
9. พังงา เข็มที่1 77.8% เข็มที่2 75.7%
10. นครปฐม เข็มที่1 75.6% เข็มที่2 74.8%
10 จังหวัดที่มีการฉีดวัคซีนเข็มที่ 2 ครอบคลุมประชากรต่ำที่สุด
1. แม่ฮ่องสอน เข็มที่1 55.7% เข็มที่2 41.5%
2. นราธิวาส เข็มที่1 54.9% เข็มที่2 44.3%
3. ปัตตานี เข็มที่1 55.8% เข็มที่2 44.9%
4. ตาก เข็มที่1 56.2% เข็มที่2 46.9%
5. ยะลา เข็มที่1 62.3% เข็มที่2 52%
6. กาญจนบุรี เข็มที่1 55.9% เข็มที่2 52.9%
7. ลพบุรี เข็มที่1 57.5% เข็มที่2 53.4%
8. บึงกาฬ เข็มที่1 62.5% เข็มที่2 53.7%
9. หนองบัวลำภู เข็มที่1 61.9% เข็มที่2 54.9%
10. สกลนคร เข็มที่1 63.8% เข็มที่2 55.2%
6) ในภูมิภาคอาเซียน ได้ฉีดวัคซีนแล้วครบ 10 ประเทศ รวมจำนวน 886,249,482 โดส ได้แก่
1. อินโดนีเซีย จำนวน 309,473,499 โดส (66.4%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Sinovac, AstraZeneca, Moderna และ Sinopharm
2. เวียดนาม จำนวน 178,818,612 โดส (80.9%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca, Pfizer, Moderna และ Sinopharm
3. ฟิลิปปินส์ 125,089,117 โดส (54.2%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Sinovac, Pfizer, Sputnik V, Moderna, J&J และ AstraZeneca
4. ไทย จำนวน 113,622,267 โดส (78.8%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Pfizer, Sinovac, AstraZeneca และ Sinopharm
5. มาเลเซีย จำนวน 62,892,195 โดส (79.8%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Pfizer, AstraZeneca และ Sinovac
6. พม่า จำนวน 40,437,126 โดส (40.1%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca และ Sinopharm
7. กัมพูชา จำนวน 33,554,563 โดส (84.8%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Sinopharm, AstraZeneca, J&J และ Sinovac
8. สิงคโปร์ จำนวน 12,684,264 โดส (91%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Pfizer, Moderna และ Sinovac
9. ลาว จำนวน 8,731,669 โดส (64%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Sinopharm, Sputnik V, Pfizer, J&J, Sinovac และ AstraZeneca
10. บรูไน จำนวน 946,170 โดส (94.8%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca และ Sinopharm
* คำนวณจากจำนวนฉีด/จำนวนประชากร อย่างน้อย 1 เข็ม
7) จำนวนการฉีดวัคซีนแยกตามภูมิภาค
1. เอเชียและตะวันออกกลาง 69.71%
2. ยุโรป 10.35%
3. อเมริกาเหนือ 8.81%
4. ลาตินอเมริกาและแคริบเบียน 7.02%
5. แอฟริกา 3.51%
6. โอเชียเนีย 0.60%
8) ประเทศที่ฉีดวัคซีนแล้วมากที่สุด 5 ประเทศลำดับแรกที่ฉีดวัคซีนมากกว่า 100 ล้านโดส รวมกันเกือบ 70% ของปริมาณการฉีดวัคซีนทั่วโลก
1. จีน จำนวน 2,978.65 ล้านโดส (210.6% ของจำนวนโดสที่ฉีดต่อประชากร)
2. อินเดีย จำนวน 1,679.34 ล้านโดส (121.8%)
3. สหรัฐอเมริกา จำนวน 536.35 ล้านโดส (160%)
4. บราซิล จำนวน 355.99 ล้านโดส (168.1%)
5. อินโดนีเซีย จำนวน 308.17 ล้านโดส (111.7%)
9) ประเทศที่ฉีดวัคซีนครอบคลุมประชากรมากที่สุด มี 10 ประเทศที่ฉีดวัคซีนให้กับประชากรอย่างน้อย 25% แล้ว ได้แก่ (เฉพาะประเทศที่มีประชากรมากกว่า 500,000 คน)
1. คิวบา (297.6%) (ฉีดวัคซีนของ Abdala และ Soberana02)
2. สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ (252.2%) (ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca/Oxford, Pfizer/BioNTech, Sinopharm และ Gamaleya)
3. ชิลี (238.3%) (ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca/Oxford, CanSino, Pfizer/BioNTech และ Sinovac)
4. เดนมาร์ก (232.6%) (ฉีดวัคซีนของ Pfizer/BioNTech Moderna และ J&J)
5. บาห์เรน (227.2%) (ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca/Oxford, Pfizer/BioNTech, Sinopharm และ Gamaley)
6. เกาหลีใต้ (220.7%) (ฉีดวัคซีนของ Pfizer/BioNTech J&J AstraZeneca/Oxford และ Moderna)
7. มัลดีฟส์ (216.7%) (ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca/Oxford, Pfizer/BioNTech และ Sinopharm)
8. สิงคโปร์ (215.4%) (ฉีดวัคซีนของ Pfizer/BioNTech Moderna และ Sinovac)
9. บรูไน (214.6%) (ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca/Oxford และ Sinopharm)
10. จีน (212.1%) (ฉีดวัคซีนของ Sinopharm, Sinovac, CanSino และ Anhui)
แหล่งข้อมูล Bloomberg Vaccine Tracker, กระทรวงสาธารณสุข
ประมวลข้อมูลโดย กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.)
https://www.facebook.com/nrctofficial/posts/4617038365088366
แสดงความคิดเห็น
💙มาลาริน🇹🇭28ม.ค.ไทยไม่ติดTop10โลก ป่วย8,450คน หายป่วย7,484คน ตาย28คน/โควิด77จว.กทม.นำ/เกณฑ์พิจารณาจ่อเป็นโรคประจำถิ่น
วันนี้ (28 ม.ค.) เมื่อเวลา 07.30 น. ศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข เผยตัวเลขสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 ในประเทศไทย ว่า....👩💻
ล่าสุด สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) หรือ โควิด-19 ในไทยวันนี้ พบผู้ติดเชื้อรายใหม่ 8,450 ราย ผู้ป่วยสะสม 192,037 ราย (ตั้งแต่ 1 มกราคม 2565) รวมยอดติดเชื้อสะสม 2,415,472 ราย เสียชีวิต 28 ราย เสียชีวิตสะสม 22,126 ราย หายป่วยเพิ่ม 7,484 ราย หายป่วยสะสม 141,154 ราย (ตั้งแต่ 1 มกราคม 2565) ผู้ป่วยกำลังรักษา 83,698 ราย
ยอดผู้ติดเชื้อโควิด-19 วันศุกร์ที่ 28 มกราคม 2565 รวม 8,450 ราย จำแนกเป็น
ผู้ป่วยจากในประเทศ 8,239 ราย
ผู้ป่วยมาจากต่างประเทศ 211 ราย
รายละเอียดผู้เสียชีวิตของประเทศไทย วันศุกร์ที่ 28 มกราคม 2565 จำนวน 28 ราย
จำนวนการได้รับวัคซีนสะสม (28 ก.พ. 2564 - 27 ม.ค. 2565) รวม 114,087,421 โดส ใน 77 จังหวัด
ภาพรวมยอดฉีดวัคซีน วันที่ 27 มกราคม 2565 ยอดฉีดทั่วประเทศ 465,154 โดส
เข็มที่ 1 : 43,799 ราย
เข็มที่ 2 : 82,138 ราย
เข็มที่ 3 : 339,217 ราย
----------------------------
จำนวนผู้ได้รับวัคซีน เข็มที่ 1 สะสม : 52,218,270 ราย
จำนวนผู้ได้รับวัคซีน เข็มที่ 2 สะสม : 48,437,177 ราย
จำนวนผู้ได้รับวัคซีน เข็มที่ 3 สะสม : 13,431,974 ราย
https://www.sanook.com/news/8509574/
👉10 จังหวัดติดโควิดรายใหม่สูงสุด "กทม." ยังครองแชมป์ วันเดียว 1,292 ราย
https://news.trueid.net/detail/2Z0xdWME7R3Z
👉โควิด-19 จ่อเป็นโรคประจำถิ่น! บอร์ดโรคติดต่อแห่งชาติ ไฟเขียวเกณฑ์พิจารณา
คณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติ เห็นชอบแนวทางพิจารณาเตรียมพร้อมให้โรคโควิด-19 เป็นโรคประจำถิ่น หากสถานการณ์เหมาะสมและเข้าหลักเกณฑ์ที่กำหนด และเห็นชอบการจัดตั้งคลินิกวัคซีนในผู้ใหญ่สำหรับบุคคลที่มีอายุ 18 ปีขึ้นไป เพื่อให้บริการประชาชนอย่างทั่วถึง พร้อมเริ่มฉีดวัคซีนไฟเซอร์ในเด็กกลุ่ม 7 โรคเรื้อรัง 31 ม.ค.นี้
วานนี้ (27 มกราคม 2565) ที่กระทรวงสาธารณสุข จ.นนทบุรี นายอนุทิน ชาญวีรกูล รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข เป็นประธานการประชุมคณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติ ครั้งที่ 1/2565 โดยมี นพ.เกียรติภูมิ วงศ์รจิต ปลัดกระทรวงสาธารณสุข นพ.โอภาส การย์กวินพงศ์ อธิบดีกรมควบคุมโรค นพ.ศุภกิจ ศิริลักษณ์ อธิบดีกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ นพ.สมศักดิ์ อรรฆศิลป์ อธิบดีกรมการแพทย์ ผู้บริหารหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง อาทิ กลาโหม มหาดไทย แรงงาน ศึกษาธิการ การต่างประเทศ การท่องเที่ยวและกีฬา สำนักงานตำรวจแห่งชาติ UHOSNET โรงพยาบาลเอกชน ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการแพทย์และสาธารณสุข ผู้แทนสภาวิชาชีพและองค์กรอิสระ เข้าร่วมการประชุม
ทั้งนี้ นายอนุทิน กล่าวว่า ปัจจุบันประเทศไทยพบผู้ติดเชื้อโควิด-19 รายใหม่ คงที่เฉลี่ยวันละ 7,000-9,000 ราย ส่วนใหญ่เป็นสายพันธุ์โอมิครอน ความรุนแรงของโรคน้อยกว่าสายพันธุ์เดลตา ทำให้มีผู้ป่วยหนักต้องใส่ท่อช่วยหายใจและเสียชีวิตลดลง ซึ่งมาตรการที่กระทรวงสาธารณสุขดำเนินการมาก่อนหน้านี้ยังสามารถควบคุมป้องกันโรคได้ดี
ในที่ประชุมคณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติจึงได้หารือใน 2 ประเด็นสำคัญ คือ...👩💻
1) เห็นชอบแนวทางการพิจารณาให้โรคโควิด 19 เป็นโรคประจำถิ่น (endemic disease) โดยมีหลักเกณฑ์และค่าเป้าหมาย เช่น ผู้ป่วยรายใหม่ไม่เกิน 10,000 ราย/วัน อัตราป่วยตาย น้อยกว่าร้อยละ 0.1 การเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล น้อยกว่าร้อยละ 10 และประชาชนมีภูมิต้านทานเพียงพอ กลุ่มเสี่ยงป่วยรุนแรงได้วัคซีนอย่างน้อย 2 โดส มากกว่าร้อยละ 80 เป็นต้น
ซึ่งหากสถานการณ์เหมาะสมและเข้าหลักเกณฑ์ที่กำหนด กระทรวงสาธารณสุขจะมีการประกาศแจ้งให้ทราบอีกครั้ง และ
2) เห็นชอบหลักการและแนวทางการดำเนินงานคลินิกวัคซีนผู้ใหญ่ เพื่อให้บริการวัคซีนสำหรับผู้ที่มีอายุ 18 ปีขึ้นไป เพื่อให้บริการวัคซีนโควิด และวัคซีนในแผนงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคที่มีความจำเป็น
ขณะที่ นพ.โอภาส การย์กวินพงศ์ อธิบดีกรมควบคุมโรค กล่าวว่า สำหรับแผนการฉีดวัคซีนไฟเซอร์ในเด็กอายุ 5-11 ปี จำนวนทั้งสิ้น 5.8 ล้านคน ขณะนี้มีวัคซีนไฟเซอร์สูตรสำหรับเด็ก ที่ได้รับการขึ้นทะเบียนจาก อย.ไทย ส่งมอบลอตแรกแล้วเมื่อวันที่ 26 มกราคม 2565 จำนวน 3 แสนโดส และจะทยอยจัดส่งต่อเนื่องทุกสัปดาห์ เพื่อเตรียมฉีดให้เด็กจำนวน 2 เข็ม โดยจะเริ่มในกลุ่มเด็กที่มีโรคเรื้อรัง 7 กลุ่มโรค ที่รักษาในโรงพยาบาล (Hospital-based vaccination) เพื่อป้องกันเด็กป่วยและบุคลากรทางการแพทย์จากการแพร่และรับเชื้อ โดยจะเริ่มในวันที่ 31 มกราคมนี้ ที่สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี และขยายไปยังเด็กกลุ่มอื่นๆ รวมทั้งให้บริการที่โรงเรียน (School-based vaccination) ในระดับประถมศึกษา สังกัดหน่วยงานรัฐบาลและภาคเอกชน รวมถึงเด็กที่เรียนผ่านระบบ home school ด้วย
ส่วนผู้ที่ต้องได้รับวัคซีนเข็มกระตุ้น จะฉีดให้ตามสูตรที่กำหนด เพื่อให้บริหารจัดการวัคซีนที่มีอยู่ได้ถูกต้อง ยืนยันว่าวัคซีนที่รัฐบาลจัดหามาเป็นวัคซีนที่ดี รวมทั้งได้เตรียมวัคซีนแอสตร้าเซนเนก้าไว้ 60 ล้านโดส และไฟเซอร์ อีก 30 ล้านโดส สำหรับเป็นวัคซีนกระตุ้นเข็มที่ 3 และ 4
โดยในเดือนกุมภาพันธ์ จะเน้นการฉีดวัคซีนเข็มที่ 2 และเข็มกระตุ้นมากขึ้น ส่วนเข็มที่ 4 จะฉีดให้กับผู้ที่มีความเสี่ยงมาก เช่น บุคลากรทางการแพทย์ และผู้ที่มีความจำเป็น จึงขอความร่วมมือช่วยกันรณรงค์ให้ประชาชนเข้ารับวัคซีนเข็มกระตุ้นให้มากที่สุด
https://www.sanook.com/news/8509614/
โควิดประเทศไทยกำลังไต่ลงๆนะคะ
ลงมาอันดับที่28 แล้วค่ะ หลังจากช่วงพีคๆ ติดTop10 โลก
แต่ประเทศอื่นกำลังจะแซงไทย ที่เห็นได้ชัดคือญี่ปุ่น
ถ้าเราคนไทยตั้งใจร่วมมือกับรัฐบาลทำตามคำแนะนำก็จะไม่มีวันพีคๆอีกแล้วค่ะ
✌อย่าการ์ดตก ทำตามมาตรการสธ.และคำแนะนำของรัฐบาล ฉีดวัคซีนตามเวลา แค่นี้เราก็จะได้ใช้ชีวิตร่วมโควิดได้อย่างไม่มีปัญหา โควิดก็จะเป็นโรคประจำถิ่นไป
ด้วยความห่วงใยค่ะ...สู้ๆนะคะ