เมื่อกระเพาะและลำไส้ของเราเริ่มมีปัญหา ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของ
- การกินข้าวแล้วไม่ค่อยย่อย
- ลมในท้องเยอะ
- ร่างกายได้รับสารอาหารน้อยลง จนทำให้อ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย
- แบคทีเรียไม่ดีเติบโตในกระเพาะลำไส้มากยิ่งขึ้น
.
เมื่อแบคทีเรียไม่ดีเจริญเติบโตมากยิ่งขึ้น
ก็จะยิ่งส่งผลให้ปัญหาเรื่องของกระเพาะและลำไส้ทวีคูณเพิ่มมาเป็น 2 เท่า
.
และนอกจากนั้นเอง ผลกระทบที่เราเห็นชัดเจนมากที่สุดเลย คือ
"เมื่อกระเพาะและลำไส้มีปัญหา เราจะรู้สึกว่าอารมณ์ความรู้สึกของเรา
เริ่มเปลี่ยนแปลง"
.
จากคนที่สนุกสนานก็กลายเป็นรู้สึกเศร้า หดหู่
การแก้ปัญหา การจัดการเรื่องความเครียดต่างๆ เริ่มน้อยลง
เริ่มเหมือนกับว่าแก้ไม่ค่อยได้
"คิดงานอะไรไม่ออก"
"พี่ทำอะไรไม่ได้เลย"
แล้วนานวันไป อาการแบบนี้สะสมเป็นความเครียด กังวลเรื้อรัง
เราจะเกิดภาวะที่เรียกว่า #แพนิค หรือ ภาวะตื่นตระหนก
.
ซึ่งภาวะแพนิค มันไม่ได้เลือกเวลาเกิด มันอยากเกิดเมื่อไหร่ก็เกิดขึ้นมา แล้วอาการของมันก็มีหลายรูปแบบมากเลย อาทิเช่น
หัวใจเต้นเร็วมาก เต้นแรงมากเหมือนจะออกจากอก
รู้สึกแน่น หายใจไม่เต็มปอด
ตัวสั่น มือสั่น
เหงื่อแตก ใจสั่น
ร่วมไปถึงคลื่นไส้ ท้องไส้ปั่นป่วน
รู้สึกเหมือนวิญญานจะออกจากร่าง
รู้สึกเวียนหัว โคลงเครง โวงเวง เหมือนอยู่ในความฝัน
รู้สึกชาซ่าส์ๆ ปลายขา
หนาว หรือร้อนวูบวาบไปทั้งตัว
แล้วเราก็จะรู้สึกกลัวมากเลย
กลัวกับอาการแบบนี้ คือ เรากลัวกับอาการแบบนี้ที่มันจะเกิดขึ้นอีก เราก็เลยกังวลกับการออกไปใช้ชีวิตข้างนอก ออกไปทำกิจกรรมข้างนอก หรือพบปะผู้คน
.
แล้วยิ่งเรากลัว มันก็ยิ่งกระตุ้น
ทำให้อาการของแพนิคกำเริบมาอยู่บ่อยครั้ง
แล้วอาการก็จะค่อยๆเป็นหนักขึ้นๆในช่วง 10 นาทีแรก หลังจากนั้นมันก็จะเบาลง แล้วหายไป หลังจากนั้นเราก็จะรู้สึกว่าเพลีย หมดแรง แล้วเราจะ
รู้สึกกลัวมากแล้วไม่อยากให้มันเกิดมาอีก แล้วยิ่งความกลัวที่จะเกิดอาการแบบนี้ขึ้นมาอีก ก็ยิ่งเป็นตัวกระตุ้นทำให้ภาวะแพนิคกำเริบได้บ่อย
.
แจมจังเลยอยากแนะนำพี่ๆที่มีปัญหาเรื่องของระบบการย่อย การดูดซึม ร่วมกับมีภาวะแพนิค ภาวะเครียด ภาวะกังวล
ว่าเราจะต้องกลับมาดูแล ปรับพฤติกรรมการใช้ชีวิตได้แล้ว
.
ข้อที่ 1 อาหาร
อาหารที่เราควรจะต้องเลี่ยง ก็จะเป็นอาหารที่ผ่านการแปรรูป ไม่ว่าจะเป็นชีสเค้กเบเกอร์รี่ หรือผลิตภัณฑ์จากนม หลายคนในคนไทย
มากถึง 90 % ไม่มีน้ำย่อยนมวัว ใครที่เวลาดื่มนมวัวไปแล้ว รู้สึกท้องอืดแน่น ลมเยอะ ท้องร้องโครกคราก วิ่งเข้าห้องน้ำเพื่อไปถ่าย เป็นอาการแสดงว่าเราไม่มีน้ำย่อยนม ควรเลี่ยงผลิตภัณฑ์จากนมไป
แต่ว่าในขณะเดียวกัน จะมีผลิตภํณฑ์จากการหมักนม ซึ่งตรงนี้จะมีจุลินทรีย์ดีอยู่ เราสามารถทานได้ เพราะจุลินทรีย์ดีจะช่วยย่อยนม
ทำให้เวลาที่เรากินผลิตภัณฑ์จากการหมักนม เช่น ยาคูลท์ หรือโยเกิต เราไม่ค่อยมีอาการแน่น หรือไม่ค่อยมีลมในท้องเยอะ
.
แล้วในเรื่องของอาหารที่จะต้องเพิ่ม
แนะนำให้เพิ่มผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนผสมของจุลินทรีย์ดี หาได้ใน ยาคูลท์ โยเกิตรสธรรมชาติ น้ำตาลน้อยที่สุด
เพราะ น้ำตาลเป็นอาหารของจุลินทรีย์ไม่ดี เพิ่มการใช้น้ำหมักชีวภาพ กระหลำปลีดอง กิมจิ นัตโต๊ะ ทุกอย่างที่เกิดจากการหมัก แต่ต้องมั่นใจว่า เป็นกระบวนการที่ไม่มีเชื้อก่อโรคอื่นๆปะปน
.
นอกจากเรื่องของจุลินทรีย์ตัวดีที่เราต้องทานแล้ว พี่ๆต้องทานพรีไบโอติกด้วย ซึ่งหาได้จาก กระเทียม สาหร่าย กล้วยน้ำว้าดิบห่าม พวกผลไม้เช่นแอปเปิ้ล
นอกจากอาหารของจุลินทรย์ดีและจุลินทรีย์ดีแล้ว พี่ๆต้องปรับสภาวะความเป็นกรดให้กับกระเพาะและลำไส้ เพราะจุลินทรีย์ดีสามารถเติบโตได้ในสภาวะที่มีความเป็นกรดอ่อนๆ
ฉะนั้น เสริมด้วยการใช้น้ำสับปะรดไซเดอร์เวนิก้า แต่หากมีอาการแสบร้อนท้อง มีแผลในท้องแนะนำให้รักษาแผลในท้องก่อน แล้วถึงจะมาดื่มน้ำสับปะรดไซเดอร์เวนิก้าเพื่อปรับสภาวะ
ความเป็นกรดในกระเพาะและลำไส้ ให้กลับมา
.
นอกจากนั้นเอง พี่ๆก็เพิ่มวิตามินบำรุงระบบประสาท ไม่ว่าจะเป็น แมกนีเซียม วิตามินบี1 วิตามินบี 3 และเมื่อเราปรับเรื่องของอาหารเรียบร้อยแล้ว ภาวะของแพนิค
.
อาการความเครียด ความเศร้า ความกังวล ความหดหู่ เราก็จะค่อยๆดีขึ้น เหมือนเราได้รับสารอาหารที่เพิ่มมากขึ้น จุลินทรีย์ดีสามารถหลั่งฮอร์โมนความสุขได้
.
เราจะรู้สึกว่าสามารถจัดการกับอารมณ์ความคิด ความเครียด ความกังวล ได้มากยิ่งขึ้น แล้วอาการของแพนิคก็จะเริ่มเป็นน้อยลง ก็คือความถี่ก็จะเริ่มน้อยลง
.
หากพี่ๆรู้สึกว่า อาหารมันแบบต้องไปหาเยอะมากเลยน้องแจมจัง พีๆก็สามารถทักพูดคุยกับน้องแอดมินในเพจได้เลยนะคะ น้องแอดมินจบสายสุขภาพมาทั้งหมด ไม่ว่าจะเป็นแพทย์แผนไทย
นักสาธารณสุข ไว้ปรึกษาได้เลยนะคะ
.
ข้อที่ 2 คือ เรื่องของการนอน
ในเรื่องของการนอน สำคัญมากๆเลย โดยเฉพาะเรื่องเวลาการเข้านอน ไม่ควรเกิน เที่ยงคืน ขอเลทไม่เกิน ห้าทุ่ม เพราะในช่วงเที่ยงคืน ถึงตี1 กว่าจะมีการหลั่งฮอร์โมนที่หยุดฮอร์โมนความเครียดได้
เป็นไปได้กำลังดี สี่ทุ่ม แล้วก็นอนให้ได้ประมาณวันละ 6-8 ชั่วโมง
ใครเข้ากะเข้าเวรก็พยายามนอนในช่วงกลางวันให้เยอะกว่าคนปกติ เพราะมีการศึกษาว่า ยิ่งนอนยิ่งทำให้จุลินทรีย์ดีเพิ่มขึ้นมากขึ้นสองเท่า
คนที่เป็นกรดไหลย้อน มีกรดไหลย้อนขึ้นมา แนะนำให้นอนตะแคงซ้าย หรือยกหัวเตียงให้สูง ไม่เน้นเอาหมอนมารองหลายๆชั้น
.
ข้อที่ 3 เป็นเรื่องของการออกกำลังกาย
การออกกำลังกายเป็นการสร้างการหลั่งฮอร์โมนความสุข น้องแจมจังยังไม่แนะนำให้ออกกำลังกายหนัก เริ่มแรกเน้นการเดินระยะทางไกลๆ 40-60 นาที เพราะหัวใจจะไม่เต้นเร็วมาก
ดังนั้นเลยแนะนำเรื่องจากการเดิน เน้นเดินเร็วค่อยๆเพิ่มไป
หรือพี่ๆจะเน้นการออกกำลังกายแบบบอดี้เวท ยกขวดน้ำ บริหาร หรือโยคะ ก็จะช่วยทำให้เลือดลมไหลเวียนดี
อันนี้เป็น 3 ข้อที่น้องแจมจังแนะนำ
.
และเรื่องการใช้โทรศัพท์มือถือ ขอ สามชั่วโมงเอาออกไป เลี่ยงการเอาอุปกรณ์สื่อสารออก
.
อย่าลืมเอาวิธีที่น้องแจมจังบอก ไปลองทำตามกันดูนะคะ
หากมีข้อสงสัยก็ทักสอบถามน้องแอดมินทีเป็นสายสุขภาพโดยเฉพาะในเพจของน้องแจมจังเลยนะคะ
#กรดไหลย้อน ร่วมกับภาวะ #แพนิค
- การกินข้าวแล้วไม่ค่อยย่อย
- ลมในท้องเยอะ
- ร่างกายได้รับสารอาหารน้อยลง จนทำให้อ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย
- แบคทีเรียไม่ดีเติบโตในกระเพาะลำไส้มากยิ่งขึ้น
.
เมื่อแบคทีเรียไม่ดีเจริญเติบโตมากยิ่งขึ้น
ก็จะยิ่งส่งผลให้ปัญหาเรื่องของกระเพาะและลำไส้ทวีคูณเพิ่มมาเป็น 2 เท่า
.
และนอกจากนั้นเอง ผลกระทบที่เราเห็นชัดเจนมากที่สุดเลย คือ
"เมื่อกระเพาะและลำไส้มีปัญหา เราจะรู้สึกว่าอารมณ์ความรู้สึกของเรา
เริ่มเปลี่ยนแปลง"
.
จากคนที่สนุกสนานก็กลายเป็นรู้สึกเศร้า หดหู่
การแก้ปัญหา การจัดการเรื่องความเครียดต่างๆ เริ่มน้อยลง
เริ่มเหมือนกับว่าแก้ไม่ค่อยได้
"คิดงานอะไรไม่ออก"
"พี่ทำอะไรไม่ได้เลย"
แล้วนานวันไป อาการแบบนี้สะสมเป็นความเครียด กังวลเรื้อรัง
เราจะเกิดภาวะที่เรียกว่า #แพนิค หรือ ภาวะตื่นตระหนก
.
ซึ่งภาวะแพนิค มันไม่ได้เลือกเวลาเกิด มันอยากเกิดเมื่อไหร่ก็เกิดขึ้นมา แล้วอาการของมันก็มีหลายรูปแบบมากเลย อาทิเช่น
หัวใจเต้นเร็วมาก เต้นแรงมากเหมือนจะออกจากอก
รู้สึกแน่น หายใจไม่เต็มปอด
ตัวสั่น มือสั่น
เหงื่อแตก ใจสั่น
ร่วมไปถึงคลื่นไส้ ท้องไส้ปั่นป่วน
รู้สึกเหมือนวิญญานจะออกจากร่าง
รู้สึกเวียนหัว โคลงเครง โวงเวง เหมือนอยู่ในความฝัน
รู้สึกชาซ่าส์ๆ ปลายขา
หนาว หรือร้อนวูบวาบไปทั้งตัว
แล้วเราก็จะรู้สึกกลัวมากเลย
กลัวกับอาการแบบนี้ คือ เรากลัวกับอาการแบบนี้ที่มันจะเกิดขึ้นอีก เราก็เลยกังวลกับการออกไปใช้ชีวิตข้างนอก ออกไปทำกิจกรรมข้างนอก หรือพบปะผู้คน
.
แล้วยิ่งเรากลัว มันก็ยิ่งกระตุ้น
ทำให้อาการของแพนิคกำเริบมาอยู่บ่อยครั้ง
แล้วอาการก็จะค่อยๆเป็นหนักขึ้นๆในช่วง 10 นาทีแรก หลังจากนั้นมันก็จะเบาลง แล้วหายไป หลังจากนั้นเราก็จะรู้สึกว่าเพลีย หมดแรง แล้วเราจะ
รู้สึกกลัวมากแล้วไม่อยากให้มันเกิดมาอีก แล้วยิ่งความกลัวที่จะเกิดอาการแบบนี้ขึ้นมาอีก ก็ยิ่งเป็นตัวกระตุ้นทำให้ภาวะแพนิคกำเริบได้บ่อย
.
แจมจังเลยอยากแนะนำพี่ๆที่มีปัญหาเรื่องของระบบการย่อย การดูดซึม ร่วมกับมีภาวะแพนิค ภาวะเครียด ภาวะกังวล
ว่าเราจะต้องกลับมาดูแล ปรับพฤติกรรมการใช้ชีวิตได้แล้ว
.
ข้อที่ 1 อาหาร
อาหารที่เราควรจะต้องเลี่ยง ก็จะเป็นอาหารที่ผ่านการแปรรูป ไม่ว่าจะเป็นชีสเค้กเบเกอร์รี่ หรือผลิตภัณฑ์จากนม หลายคนในคนไทย
มากถึง 90 % ไม่มีน้ำย่อยนมวัว ใครที่เวลาดื่มนมวัวไปแล้ว รู้สึกท้องอืดแน่น ลมเยอะ ท้องร้องโครกคราก วิ่งเข้าห้องน้ำเพื่อไปถ่าย เป็นอาการแสดงว่าเราไม่มีน้ำย่อยนม ควรเลี่ยงผลิตภัณฑ์จากนมไป
แต่ว่าในขณะเดียวกัน จะมีผลิตภํณฑ์จากการหมักนม ซึ่งตรงนี้จะมีจุลินทรีย์ดีอยู่ เราสามารถทานได้ เพราะจุลินทรีย์ดีจะช่วยย่อยนม
ทำให้เวลาที่เรากินผลิตภัณฑ์จากการหมักนม เช่น ยาคูลท์ หรือโยเกิต เราไม่ค่อยมีอาการแน่น หรือไม่ค่อยมีลมในท้องเยอะ
.
แล้วในเรื่องของอาหารที่จะต้องเพิ่ม
แนะนำให้เพิ่มผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนผสมของจุลินทรีย์ดี หาได้ใน ยาคูลท์ โยเกิตรสธรรมชาติ น้ำตาลน้อยที่สุด
เพราะ น้ำตาลเป็นอาหารของจุลินทรีย์ไม่ดี เพิ่มการใช้น้ำหมักชีวภาพ กระหลำปลีดอง กิมจิ นัตโต๊ะ ทุกอย่างที่เกิดจากการหมัก แต่ต้องมั่นใจว่า เป็นกระบวนการที่ไม่มีเชื้อก่อโรคอื่นๆปะปน
.
นอกจากเรื่องของจุลินทรีย์ตัวดีที่เราต้องทานแล้ว พี่ๆต้องทานพรีไบโอติกด้วย ซึ่งหาได้จาก กระเทียม สาหร่าย กล้วยน้ำว้าดิบห่าม พวกผลไม้เช่นแอปเปิ้ล
นอกจากอาหารของจุลินทรย์ดีและจุลินทรีย์ดีแล้ว พี่ๆต้องปรับสภาวะความเป็นกรดให้กับกระเพาะและลำไส้ เพราะจุลินทรีย์ดีสามารถเติบโตได้ในสภาวะที่มีความเป็นกรดอ่อนๆ
ฉะนั้น เสริมด้วยการใช้น้ำสับปะรดไซเดอร์เวนิก้า แต่หากมีอาการแสบร้อนท้อง มีแผลในท้องแนะนำให้รักษาแผลในท้องก่อน แล้วถึงจะมาดื่มน้ำสับปะรดไซเดอร์เวนิก้าเพื่อปรับสภาวะ
ความเป็นกรดในกระเพาะและลำไส้ ให้กลับมา
.
นอกจากนั้นเอง พี่ๆก็เพิ่มวิตามินบำรุงระบบประสาท ไม่ว่าจะเป็น แมกนีเซียม วิตามินบี1 วิตามินบี 3 และเมื่อเราปรับเรื่องของอาหารเรียบร้อยแล้ว ภาวะของแพนิค
.
อาการความเครียด ความเศร้า ความกังวล ความหดหู่ เราก็จะค่อยๆดีขึ้น เหมือนเราได้รับสารอาหารที่เพิ่มมากขึ้น จุลินทรีย์ดีสามารถหลั่งฮอร์โมนความสุขได้
.
เราจะรู้สึกว่าสามารถจัดการกับอารมณ์ความคิด ความเครียด ความกังวล ได้มากยิ่งขึ้น แล้วอาการของแพนิคก็จะเริ่มเป็นน้อยลง ก็คือความถี่ก็จะเริ่มน้อยลง
.
หากพี่ๆรู้สึกว่า อาหารมันแบบต้องไปหาเยอะมากเลยน้องแจมจัง พีๆก็สามารถทักพูดคุยกับน้องแอดมินในเพจได้เลยนะคะ น้องแอดมินจบสายสุขภาพมาทั้งหมด ไม่ว่าจะเป็นแพทย์แผนไทย
นักสาธารณสุข ไว้ปรึกษาได้เลยนะคะ
.
ข้อที่ 2 คือ เรื่องของการนอน
ในเรื่องของการนอน สำคัญมากๆเลย โดยเฉพาะเรื่องเวลาการเข้านอน ไม่ควรเกิน เที่ยงคืน ขอเลทไม่เกิน ห้าทุ่ม เพราะในช่วงเที่ยงคืน ถึงตี1 กว่าจะมีการหลั่งฮอร์โมนที่หยุดฮอร์โมนความเครียดได้
เป็นไปได้กำลังดี สี่ทุ่ม แล้วก็นอนให้ได้ประมาณวันละ 6-8 ชั่วโมง
ใครเข้ากะเข้าเวรก็พยายามนอนในช่วงกลางวันให้เยอะกว่าคนปกติ เพราะมีการศึกษาว่า ยิ่งนอนยิ่งทำให้จุลินทรีย์ดีเพิ่มขึ้นมากขึ้นสองเท่า
คนที่เป็นกรดไหลย้อน มีกรดไหลย้อนขึ้นมา แนะนำให้นอนตะแคงซ้าย หรือยกหัวเตียงให้สูง ไม่เน้นเอาหมอนมารองหลายๆชั้น
.
ข้อที่ 3 เป็นเรื่องของการออกกำลังกาย
การออกกำลังกายเป็นการสร้างการหลั่งฮอร์โมนความสุข น้องแจมจังยังไม่แนะนำให้ออกกำลังกายหนัก เริ่มแรกเน้นการเดินระยะทางไกลๆ 40-60 นาที เพราะหัวใจจะไม่เต้นเร็วมาก
ดังนั้นเลยแนะนำเรื่องจากการเดิน เน้นเดินเร็วค่อยๆเพิ่มไป
หรือพี่ๆจะเน้นการออกกำลังกายแบบบอดี้เวท ยกขวดน้ำ บริหาร หรือโยคะ ก็จะช่วยทำให้เลือดลมไหลเวียนดี
อันนี้เป็น 3 ข้อที่น้องแจมจังแนะนำ
.
และเรื่องการใช้โทรศัพท์มือถือ ขอ สามชั่วโมงเอาออกไป เลี่ยงการเอาอุปกรณ์สื่อสารออก
.
อย่าลืมเอาวิธีที่น้องแจมจังบอก ไปลองทำตามกันดูนะคะ
หากมีข้อสงสัยก็ทักสอบถามน้องแอดมินทีเป็นสายสุขภาพโดยเฉพาะในเพจของน้องแจมจังเลยนะคะ