คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 9
กระทรวงสาธารณสุข แถลงสถานการณ์โควิด-19 ประจำวันที่ 4 กันยายน 2564 เวลา 11.30 น.
แถลงความคืบหน้าสถานการณ์ โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ณ กระทรวงสาธารณสุข
วันที่ 4 กันยายน 2564
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
รวมสไลด์แถลงสถานการณ์โควิด-19 จาก ศบค.
วันเสาร์ที่ 4 กันยายน 2564
https://www.facebook.com/informationcovid19/posts/400107431607587
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
"อว. เผยฉีดวัคซีนของไทย ณ วันที่ 3 กันยายน ฉีดวัคซีนแล้ว 34,292,537 โดส และทั่วโลกแล้ว 5,397 ล้านโดส ใน 203 ประเทศ/เขตปกครอง ส่วนอาเซียนฉีดแล้วทุกประเทศ รวมกันกว่า 267.55 ล้านโดส โดยจังหวัดของไทยที่ฉีดมากที่สุด คือ กรุงเทพฯ โดยฉีดวัคซีนเข็มแรกกว่า 92.2%”
(3 กันยายน 2564) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) เผยข้อมูลสถิติการฉีดวัคซีนโควิด-19 ทั่วโลกแล้ว 5,397 ล้านโดส ใน 203 ประเทศ/เขตปกครอง โดยขณะนี้อัตราการฉีดล่าสุดรวมกันทั่วโลกที่ 41 ล้านโดสต่อวัน และมีแนวโน้มที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ในขณะที่สหรัฐอเมริกามีจำนวนการฉีดวัคซีนสูงที่สุดที่ 372 ล้านโดส โดยมีชาวอเมริกันกว่า 175 ล้านคนได้รับวัคซีนครบ 2 โดสแล้ว"
ด้านอาเซียนขณะนี้ทุกประเทศได้ฉีดวัคซีนป้องกันโรคโควิด-19 แล้ว มียอดรวมกันที่ประมาณ 267.55 ล้านโดส โดยสิงคโปร์ฉีดวัคซีนในสัดส่วนประชากรมากที่สุดในภูมิภาค (76.7% ของประชากร) ในขณะที่อินโดนีเซียฉีดวัคซีนในจำนวนมากที่สุดที่ 102.38 ล้านโดส สำหรับประเทศไทยข้อมูล ณ วันที่ 3 กันยายน 2564 ได้ฉีดวัคซีนแล้วกว่า 34,292,537 โดส โดยฉีดให้กับประชาชนมากที่สุดในสัดส่วนกว่า 56.82%
ในการฉีดวัคซีน จำนวน 5,397 ล้านโดสนี้ อว. ขอรายงานสถิติที่สำคัญ คือ
1) ข้อมูลการฉีดวัคซีนล่าสุดของประเทศไทย ณ วันที่ 3 กันยายน 2564
จำนวนการฉีดวัคซีนสะสม34,292,537 คน ใน 77 จังหวัด แบ่งเป็น
-เข็มแรก 24,542,140 โดส (37.1% ของประชากร)
-เข็มสอง 9,152,799 โดส (13.8% ของประชากร)
-เข็มสาม 597,598 โดส (0.9% ของประชากร)
2) อัตราการฉีดวัคซีนตั้งแต่ 28 ก.พ.- 3 ก.ย. 64 พบว่า ประเทศไทยฉีดวัคซีนแล้ว 34,292,537 โดส ฉีดเพิ่มขึ้น 865,074 โดส (อัตราการฉีดล่าสุดเฉลี่ย 3 วันย้อนหลัง ตั้งแต่วันที่ 7 มิ.ย. 64 ซึ่งเป็นการฉีดวัคซีนวาระแห่งชาติ 683,967 โดส/วัน
3) อัตราการฉีดวัคซีน ประกอบด้วย
วัคซีน Sinovac
- เข็มที่ 1 11,429,798 โดส
- เข็มที่ 2 3,473,963 โดส
- เข็มที่ 3 0 โดส
วัคซีน AstraZeneca
- เข็มที่ 1 9,909,643 โดส
- เข็มที่ 2 4,460,784 โดส
- เข็มที่ 3 211,345 โดส
วัคซีน Sinopharm
- เข็มที่ 1 2,838,629 โดส
- เข็มที่ 2 1,148,530 โดส
- เข็มที่ 3 0 โดส
วัคซีน Pfizer
- เข็มที่ 1 364,070 โดส
- เข็มที่ 2 69,522 โดส
- เข็มที่ 3 386,253 โดส
4) การฉีดวัคซีนโควิด-19 แยกตามกลุ่มเป้าหมาย
- บุคลากรการแพทย์/สาธารณสุข เข็มที่1 123.6% เข็มที่2 110.6% เข็มที่3 83.9%
- เจ้าหน้าที่ด่านหน้า เข็มที่1 56.5% เข็มที่2 38.4% เข็มที่3 0%
- อสม เข็มที่1 66% เข็มที่2 37.4% เข็มที่3 0%
- ผู้ที่มีโรคเรื้อรัง 7 กลุ่มโรค เข็มที่1 44.6% เข็มที่1 13% เข็มที่3 0%
- ประชาชนทั่วไป เข็มที่1 48.7% เข็มที่2 17.7% เข็มที่3 0%
- ผู้ที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 46.8% เข็มที่2 12.5% เข็มที่3 0%
- หญิงตั้งครรภ์ เข็มที่1 9.1% เข็มที่2 1% เข็มที่3 0%
รวม เข็มที่1 49.1% เข็มที่2 18.3% เข็มที่3 1.2%
5) จังหวัดที่ฉีดวัคซีน เข็มที่ 1 และเข็มที่ 2 แบ่งเป็น 2 ชุดข้อมูล
กรุงเทพฯ และปริมณฑล เข็มที่1 70.2% เข็มที่2 20.7% เข็มที่3 1.2% ประกอบด้วย
- กรุงเทพฯ เข็มที่1 92.2% เข็มที่2 26.3% เข็มที่3 1.8%
- สมุทรสาคร เข็มที่1 52.3% เข็มที่2 13.6% เข็มที่3 0.6%
- นนทบุรี เข็มที่1 52.2% เข็มที่2 13.9% เข็มที่3 0.5%
- สมุทรปราการ เข็มที่1 45.9% เข็มที่2 20.6% เข็มที่3 0.6%
- ปทุมธานี เข็มที่1 44.4% เข็มที่2 17.6% เข็มที่3 0.7%
- นครปฐม เข็มที่1 32.1% เข็มที่2 9% เข็มที่3 0.7%
จังหวัดอื่น ๆ 71 จังหวัด เข็มที่1 24.7% เข็มที่2 10.6% เข็มที่3 0.7%
- ชลบุรี เข็มที่1 77% เข็มที่2 68.2% เข็มที่3 1.2%
- พระนครศรีอยุธยา เข็มที่1 55.1% เข็มที่2 14.4% เข็มที่3 0.6%
- สงขลา เข็มที่1 48.4% เข็มที่2 27.8% เข็มที่3 0.8%
- ยะลา เข็มที่1 46% เข็มที่2 27.5% เข็มที่3 0.7%
- ปัตตานี เข็มที่1 44.1% เข็มที่2 16.9% เข็มที่3 1%
- ฉะเชิงเทรา เข็มที่1 37.5% เข็มที่2 14.3% เข็มที่3 0.8%
6) ในภูมิภาคอาเซียน ได้ฉีดวัคซีนแล้วครบ 10 ประเทศ รวมจำนวน 267,550,038 โดส ได้แก่
1. อินโดนีเซีย จำนวน 102,385,008 โดส (23.6%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Sinovac, AstraZeneca, Moderna และ Sinopharm
2. มาเลเซีย จำนวน 35,519,754 โดส (61.5%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Pfizer, AstraZeneca และ Sinovac
3. ไทย จำนวน 34,292,537 โดส (37.1%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Pfizer, Sinovac, AstraZeneca และ Sinopharm
4. ฟิลิปปินส์ จำนวน 34,112,320 โดส (18.1%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Sinovac, Pfizer, Sputnik V, Moderna, J&J และ AstraZeneca
5. เวียดนาม จำนวน 20,542,325 โดส (18.1%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca, Pfizer, Moderna และ Sinopharm
6. กัมพูชา จำนวน 20,277,465 โดส (64.9%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Sinopharm, AstraZeneca, J&J และ Sinovac
7. สิงคโปร์ จำนวน 8,855,835 โดส (76.7%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Pfizer, Moderna และ Sinovac
8. พม่า จำนวน 6,872,232 โดส (8.7%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca และ Sinopharm
9. ลาว จำนวน 4,354,163 โดส (34.4%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Sinopharm, Sputnik V, Pfizer, J&J, Sinovac และ AstraZeneca
10. บรูไน จำนวน 338,399 โดส (52.9%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca และ Sinopharm
* คำนวณจากจำนวนฉีด/จำนวนประชากร/2 เหมือนกันทุกประเทศ
7) จำนวนการฉีดวัคซีนแยกตามภูมิภาค
1. เอเชียและตะวันออกกลาง 67.84%
2. อเมริกาเหนือ 10.42%
3. ยุโรป 12.47%
4. ลาตินอเมริกาและแคริบเบียน 6.84%
5. แอฟริกา 1.97%
6. โอเชียเนีย 0.46%
8) ประเทศที่ฉีดวัคซีนแล้วมากที่สุด 5 ประเทศลำดับแรกที่ฉีดวัคซีนมากกว่า 100 ล้านโดส รวมกันเกือบ 70% ของปริมาณการฉีดวัคซีนทั่วโลก
1. จีน จำนวน 2,076.43 ล้านโดส (74.2% ของจำนวนการฉีดทั่วโลก)
2. อินเดีย จำนวน 663.04 ล้านโดส (24.2%)
3. สหรัฐอเมริกา จำนวน 372.12 ล้านโดส (58.2%)
4. บราซิล จำนวน 195.52 ล้านโดส (47.5%)
5. ญี่ปุ่น จำนวน 132.03 ล้านโดส (52.3%)
9) ประเทศที่ฉีดวัคซีนครอบคลุมประชากรมากที่สุด มี 10 ประเทศที่ฉีดวัคซีนให้กับประชากรอย่างน้อย 25% แล้ว ได้แก่ (เฉพาะประเทศที่มีประชากรมากกว่า 500,000 คน)
1. มัลดีฟส์ (92.3% ของประชากร) (ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca/Oxford, Pfizer/BioNTech และ Sinopharm)
2. สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ (85.1%) (ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca/Oxford, Pfizer/BioNTech, Sinopharm และ Gamaleya)
3. บาห์เรน (84%) (ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca/Oxford, Pfizer/BioNTech, Sinopharm และ Gamaley)
4. อุรุกวัย (80.6%) (ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca/Oxford, Pfizer/BioNTech และ Sinovac)
5. กาตาร์ (80.1%) (ฉีดวัคซีนของ Pfizer/BioNTech และ Moderna)
6. สิงคโปร์ (76.7%) (ฉีดวัคซีนของ Pfizer/BioNTech Moderna และ Sinovac)
7. อิสราเอล (76.7%) (ฉีดวัคซีนของ Pfizer/BioNTech และ Moderna)
8. ชิลี (76.4%) (ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca/Oxford, CanSino, Pfizer/BioNTech และ Sinovac)
9. เดนมาร์ก (74.3%) (ฉีดวัคซีนของ Moderna, Pfizer/BioNTech และ J&J)
10. จีน (74.2%) (ฉีดวัคซีนของ Sinopharm, Sinovac และ CanSino)
แหล่งข้อมูล Bloomberg Vaccine Tracker, กระทรวงสาธารณสุข
ประมวลข้อมูลโดย กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.)
https://www.facebook.com/nrctofficial/posts/4121474197978121
แถลงความคืบหน้าสถานการณ์ โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ณ กระทรวงสาธารณสุข
วันที่ 4 กันยายน 2564
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
รวมสไลด์แถลงสถานการณ์โควิด-19 จาก ศบค.
วันเสาร์ที่ 4 กันยายน 2564
https://www.facebook.com/informationcovid19/posts/400107431607587
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
"อว. เผยฉีดวัคซีนของไทย ณ วันที่ 3 กันยายน ฉีดวัคซีนแล้ว 34,292,537 โดส และทั่วโลกแล้ว 5,397 ล้านโดส ใน 203 ประเทศ/เขตปกครอง ส่วนอาเซียนฉีดแล้วทุกประเทศ รวมกันกว่า 267.55 ล้านโดส โดยจังหวัดของไทยที่ฉีดมากที่สุด คือ กรุงเทพฯ โดยฉีดวัคซีนเข็มแรกกว่า 92.2%”
(3 กันยายน 2564) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) เผยข้อมูลสถิติการฉีดวัคซีนโควิด-19 ทั่วโลกแล้ว 5,397 ล้านโดส ใน 203 ประเทศ/เขตปกครอง โดยขณะนี้อัตราการฉีดล่าสุดรวมกันทั่วโลกที่ 41 ล้านโดสต่อวัน และมีแนวโน้มที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ในขณะที่สหรัฐอเมริกามีจำนวนการฉีดวัคซีนสูงที่สุดที่ 372 ล้านโดส โดยมีชาวอเมริกันกว่า 175 ล้านคนได้รับวัคซีนครบ 2 โดสแล้ว"
ด้านอาเซียนขณะนี้ทุกประเทศได้ฉีดวัคซีนป้องกันโรคโควิด-19 แล้ว มียอดรวมกันที่ประมาณ 267.55 ล้านโดส โดยสิงคโปร์ฉีดวัคซีนในสัดส่วนประชากรมากที่สุดในภูมิภาค (76.7% ของประชากร) ในขณะที่อินโดนีเซียฉีดวัคซีนในจำนวนมากที่สุดที่ 102.38 ล้านโดส สำหรับประเทศไทยข้อมูล ณ วันที่ 3 กันยายน 2564 ได้ฉีดวัคซีนแล้วกว่า 34,292,537 โดส โดยฉีดให้กับประชาชนมากที่สุดในสัดส่วนกว่า 56.82%
ในการฉีดวัคซีน จำนวน 5,397 ล้านโดสนี้ อว. ขอรายงานสถิติที่สำคัญ คือ
1) ข้อมูลการฉีดวัคซีนล่าสุดของประเทศไทย ณ วันที่ 3 กันยายน 2564
จำนวนการฉีดวัคซีนสะสม34,292,537 คน ใน 77 จังหวัด แบ่งเป็น
-เข็มแรก 24,542,140 โดส (37.1% ของประชากร)
-เข็มสอง 9,152,799 โดส (13.8% ของประชากร)
-เข็มสาม 597,598 โดส (0.9% ของประชากร)
2) อัตราการฉีดวัคซีนตั้งแต่ 28 ก.พ.- 3 ก.ย. 64 พบว่า ประเทศไทยฉีดวัคซีนแล้ว 34,292,537 โดส ฉีดเพิ่มขึ้น 865,074 โดส (อัตราการฉีดล่าสุดเฉลี่ย 3 วันย้อนหลัง ตั้งแต่วันที่ 7 มิ.ย. 64 ซึ่งเป็นการฉีดวัคซีนวาระแห่งชาติ 683,967 โดส/วัน
3) อัตราการฉีดวัคซีน ประกอบด้วย
วัคซีน Sinovac
- เข็มที่ 1 11,429,798 โดส
- เข็มที่ 2 3,473,963 โดส
- เข็มที่ 3 0 โดส
วัคซีน AstraZeneca
- เข็มที่ 1 9,909,643 โดส
- เข็มที่ 2 4,460,784 โดส
- เข็มที่ 3 211,345 โดส
วัคซีน Sinopharm
- เข็มที่ 1 2,838,629 โดส
- เข็มที่ 2 1,148,530 โดส
- เข็มที่ 3 0 โดส
วัคซีน Pfizer
- เข็มที่ 1 364,070 โดส
- เข็มที่ 2 69,522 โดส
- เข็มที่ 3 386,253 โดส
4) การฉีดวัคซีนโควิด-19 แยกตามกลุ่มเป้าหมาย
- บุคลากรการแพทย์/สาธารณสุข เข็มที่1 123.6% เข็มที่2 110.6% เข็มที่3 83.9%
- เจ้าหน้าที่ด่านหน้า เข็มที่1 56.5% เข็มที่2 38.4% เข็มที่3 0%
- อสม เข็มที่1 66% เข็มที่2 37.4% เข็มที่3 0%
- ผู้ที่มีโรคเรื้อรัง 7 กลุ่มโรค เข็มที่1 44.6% เข็มที่1 13% เข็มที่3 0%
- ประชาชนทั่วไป เข็มที่1 48.7% เข็มที่2 17.7% เข็มที่3 0%
- ผู้ที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 46.8% เข็มที่2 12.5% เข็มที่3 0%
- หญิงตั้งครรภ์ เข็มที่1 9.1% เข็มที่2 1% เข็มที่3 0%
รวม เข็มที่1 49.1% เข็มที่2 18.3% เข็มที่3 1.2%
5) จังหวัดที่ฉีดวัคซีน เข็มที่ 1 และเข็มที่ 2 แบ่งเป็น 2 ชุดข้อมูล
กรุงเทพฯ และปริมณฑล เข็มที่1 70.2% เข็มที่2 20.7% เข็มที่3 1.2% ประกอบด้วย
- กรุงเทพฯ เข็มที่1 92.2% เข็มที่2 26.3% เข็มที่3 1.8%
- สมุทรสาคร เข็มที่1 52.3% เข็มที่2 13.6% เข็มที่3 0.6%
- นนทบุรี เข็มที่1 52.2% เข็มที่2 13.9% เข็มที่3 0.5%
- สมุทรปราการ เข็มที่1 45.9% เข็มที่2 20.6% เข็มที่3 0.6%
- ปทุมธานี เข็มที่1 44.4% เข็มที่2 17.6% เข็มที่3 0.7%
- นครปฐม เข็มที่1 32.1% เข็มที่2 9% เข็มที่3 0.7%
จังหวัดอื่น ๆ 71 จังหวัด เข็มที่1 24.7% เข็มที่2 10.6% เข็มที่3 0.7%
- ชลบุรี เข็มที่1 77% เข็มที่2 68.2% เข็มที่3 1.2%
- พระนครศรีอยุธยา เข็มที่1 55.1% เข็มที่2 14.4% เข็มที่3 0.6%
- สงขลา เข็มที่1 48.4% เข็มที่2 27.8% เข็มที่3 0.8%
- ยะลา เข็มที่1 46% เข็มที่2 27.5% เข็มที่3 0.7%
- ปัตตานี เข็มที่1 44.1% เข็มที่2 16.9% เข็มที่3 1%
- ฉะเชิงเทรา เข็มที่1 37.5% เข็มที่2 14.3% เข็มที่3 0.8%
6) ในภูมิภาคอาเซียน ได้ฉีดวัคซีนแล้วครบ 10 ประเทศ รวมจำนวน 267,550,038 โดส ได้แก่
1. อินโดนีเซีย จำนวน 102,385,008 โดส (23.6%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Sinovac, AstraZeneca, Moderna และ Sinopharm
2. มาเลเซีย จำนวน 35,519,754 โดส (61.5%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Pfizer, AstraZeneca และ Sinovac
3. ไทย จำนวน 34,292,537 โดส (37.1%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Pfizer, Sinovac, AstraZeneca และ Sinopharm
4. ฟิลิปปินส์ จำนวน 34,112,320 โดส (18.1%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Sinovac, Pfizer, Sputnik V, Moderna, J&J และ AstraZeneca
5. เวียดนาม จำนวน 20,542,325 โดส (18.1%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca, Pfizer, Moderna และ Sinopharm
6. กัมพูชา จำนวน 20,277,465 โดส (64.9%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Sinopharm, AstraZeneca, J&J และ Sinovac
7. สิงคโปร์ จำนวน 8,855,835 โดส (76.7%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Pfizer, Moderna และ Sinovac
8. พม่า จำนวน 6,872,232 โดส (8.7%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca และ Sinopharm
9. ลาว จำนวน 4,354,163 โดส (34.4%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Sinopharm, Sputnik V, Pfizer, J&J, Sinovac และ AstraZeneca
10. บรูไน จำนวน 338,399 โดส (52.9%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca และ Sinopharm
* คำนวณจากจำนวนฉีด/จำนวนประชากร/2 เหมือนกันทุกประเทศ
7) จำนวนการฉีดวัคซีนแยกตามภูมิภาค
1. เอเชียและตะวันออกกลาง 67.84%
2. อเมริกาเหนือ 10.42%
3. ยุโรป 12.47%
4. ลาตินอเมริกาและแคริบเบียน 6.84%
5. แอฟริกา 1.97%
6. โอเชียเนีย 0.46%
8) ประเทศที่ฉีดวัคซีนแล้วมากที่สุด 5 ประเทศลำดับแรกที่ฉีดวัคซีนมากกว่า 100 ล้านโดส รวมกันเกือบ 70% ของปริมาณการฉีดวัคซีนทั่วโลก
1. จีน จำนวน 2,076.43 ล้านโดส (74.2% ของจำนวนการฉีดทั่วโลก)
2. อินเดีย จำนวน 663.04 ล้านโดส (24.2%)
3. สหรัฐอเมริกา จำนวน 372.12 ล้านโดส (58.2%)
4. บราซิล จำนวน 195.52 ล้านโดส (47.5%)
5. ญี่ปุ่น จำนวน 132.03 ล้านโดส (52.3%)
9) ประเทศที่ฉีดวัคซีนครอบคลุมประชากรมากที่สุด มี 10 ประเทศที่ฉีดวัคซีนให้กับประชากรอย่างน้อย 25% แล้ว ได้แก่ (เฉพาะประเทศที่มีประชากรมากกว่า 500,000 คน)
1. มัลดีฟส์ (92.3% ของประชากร) (ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca/Oxford, Pfizer/BioNTech และ Sinopharm)
2. สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ (85.1%) (ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca/Oxford, Pfizer/BioNTech, Sinopharm และ Gamaleya)
3. บาห์เรน (84%) (ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca/Oxford, Pfizer/BioNTech, Sinopharm และ Gamaley)
4. อุรุกวัย (80.6%) (ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca/Oxford, Pfizer/BioNTech และ Sinovac)
5. กาตาร์ (80.1%) (ฉีดวัคซีนของ Pfizer/BioNTech และ Moderna)
6. สิงคโปร์ (76.7%) (ฉีดวัคซีนของ Pfizer/BioNTech Moderna และ Sinovac)
7. อิสราเอล (76.7%) (ฉีดวัคซีนของ Pfizer/BioNTech และ Moderna)
8. ชิลี (76.4%) (ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca/Oxford, CanSino, Pfizer/BioNTech และ Sinovac)
9. เดนมาร์ก (74.3%) (ฉีดวัคซีนของ Moderna, Pfizer/BioNTech และ J&J)
10. จีน (74.2%) (ฉีดวัคซีนของ Sinopharm, Sinovac และ CanSino)
แหล่งข้อมูล Bloomberg Vaccine Tracker, กระทรวงสาธารณสุข
ประมวลข้อมูลโดย กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.)
https://www.facebook.com/nrctofficial/posts/4121474197978121
แสดงความคิดเห็น
🇹🇭มาลาริน💜4 ก.ย. ป่วย15,942คน หายป่วย20,351คน เสียชีวิต257คน/เอ็นดูคุณยายกลัวเข็ม(คลิป)/หมอ ยง ชี้ต้องฉีดวัคซีนทุกคน
https://www.sanook.com/news/8437898/
สำหรับตัวเลขผู้ติดเชื้อดังกล่าว ใน กทม.กลับมาพุ่งขึ้นอีกแตะๆสี่พันรายต่อวันแล้ว จากเมื่อวาน 3,428 ราย วันนี้เป็น 3,835 ราย ส่วนยอดสะสม 290,032 ราย ขณะที่สมุทรปราการ จากเมื่อวาน 1,237 ราย วันนี้เพิ่มขึ้นเป็น 1,570 ราย ซึ่งเป็นจังหวัดปริมณฑลเดียวที่ยังมีตัวเลขยึดที่หลักพันกว่ารายต่อวันต่อเนื่อง ขณะที่จังหวัดอื่นๆ เช่น ชลบุรี วันนี้ 955 ราย จากเมื่อวาน 822 ราย สมุทรสาคร เมื่อวาน 859 ราย วันนี้ขึ้นเล็กน้อยเป็น 895 ราย ส่วนจังหวัดกลับมาติดอันดับใหม่คือ นครปฐม 340 ราย
ขณะที่ยอดผู้ป่วยติดเชื้อภายในประเทศรายใหม่ จำนวน 15,659 ราย แยกตามรายภาคดังนี้
https://www.naewna.com/local/599806
https://www.sanook.com/news/8437886/
“ง” ชี้ภูมิคุ้มกันหมู่โควิด-19 ยังสร้างไม่ได้ ทุกคนต้องได้ฉีดวัคซีน
เผยแพร่: 4 ก.ย. 2564 06:26 ปรับปรุง: 4 ก.ย. 2564 06:26 โดย: ผู้จัดการออนไลน์
ศ.นพ.ยง ชี้ การฉีดวัคซีนโควิด-19 เพื่อให้เกิดภูมิคุ้มกันหมู่ยังไม่สามารถทำได้ ในประเทศที่ฉีดวัคซีนในอัตราสูงเช่น สหรัฐฯ อิสราเอล ก็ยังมีการระบาด ทางออก ทุกคนจะต้องได้รับวัคซีน หรือติดเชื้อให้มีภูมิพื้นฐาน เมื่อเป็นซ้ำก็จะไม่มีอาการหรืออาการน้อยลง และโรคนี่ก็จะอยู่กับเราตลอดไป จึงต้องหาวัคซีนมาฉีดให้ครบทุกคน
วันนี้ (4 ก.ย.) นพ.ยง ภู่วรวรรณ หัวหน้าศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านไวรัสวิทยา คลินิกภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โพสต์เฟซบุ๊ก Yong Poovorawan โดยระบุว่า เมื่อเกิดโรคติดต่อ เราจะได้ยินคำว่าภูมิคุ้มกันหมู่ เพื่อลดการระบาดของโรคและยุติการระบาด
ภูมิคุ้มกันหมู่ จะได้ผลในการป้องกันการระบาด ภูมิคุ้มกันนั้นจะต้องป้องกันการติดโรคได้ และเมื่อมีภูมิคุ้มกันในกลุ่มประชากรมากจำนวนหนึ่ง ก็จะช่วยป้องกันคนที่ไม่มีภูมิไปด้วย เช่น โรคหัด โปลิโอ ประชากรส่วนใหญ่ใด้วัคซีนในการป้องกันโรค โรคก็จะเบาบาง และในที่สุดก็จะยุติการระบาด
เมื่อมาดู covid-19 จุดมุ่งหมายการให้วัคซีนในระยะแรก ต้องการให้เกิดภูมิคุ้มกันหมู่
แต่ในปัจจุบันเห็นได้ชัดแล้วว่า วัคซีนทุกชนิดไม่สามารถป้องกันการติดเชื้อได้ ไม่ว่าจะเป็นวัคซีนจากประเทศตะวันตกหรือตะวันออก เพียงแต่ลดความรุนแรงของโรค ลดอัตราการตาย และยังพบว่าผู้ที่ฉีดวัคซีนแล้ว กับผู้ที่ไม่ได้ฉีดวัคซีน เมื่อติดเชื้อปริมาณไวรัสที่อยู่ในตัว สามารถแพร่กระจายไปสู่ผู้อื่นได้
ดังนั้นวัคซีนที่ใช้ในขณะนี้ จึงไม่สามารถที่จะทำให้เกิดภูมิคุ้มกันหมู่ได้ เพราะถึงแม้มีภูมิคุ้มกัน ก็ไม่สามารถป้องกันการติดเชื้อได้ เนื่องจากภูมิคุ้มกันลดลงตลอดเวลา และขณะเดียวกันระยะฟักตัวของโรค covid 19 สั้นมาก จึงทำให้ระบบภูมิคุ้มกันไม่สามารถป้องกันการติดเชื้อได้ แต่ลดความรุนแรงของโรคได้
เมื่อไม่สามารถป้องกันการติดเชื้อได้ ภูมิคุ้มกันที่เกิดขึ้นในแต่ละคน ก็ไม่สามารถจะเกิดภูมิคุ้มกันหมู่ ในการลดการติดเชื้อในประชากรหมู่มากได้ จะเห็นได้ว่าทั้งประเทศสหรัฐอเมริกา และประเทศอิสราเอล ที่มีการฉีดวัคซีนเป็นจำนวนมาก ก็ยังพบผู้ติดเชื้อเป็นจำนวนมากเช่นเดียวกัน แต่ความรุนแรงเมื่อเปรียบเทียบกับการระบาดในระลอก ก่อนมีวัคซีนลดลง อัตราตายและอัตราการป่วยนอนโรงพยาบาลลดลง
ดังนั้น การฉีดวัคซีนเพื่อให้เกิดภูมิคุ้มกันหมู่ใน covid 19 จึงไม่สามารถนำมาใช้ได้ในขณะนี้ ทั้งที่แต่เดิมคิดว่าถ้าประชากรส่วนใหญ่ได้วัคซีนถึง 70% แล้วโรคจะทุเลาลง แต่ความเป็นจริง ประเทศที่ฉีดวัคซีนได้สูงแล้ว ก็ยังพบการระบาดของโรค
ทางออกของ covid 19 ทุกคนจะต้องได้รับวัคซีน หรือเคยติดเชื้อ และให้มีภูมิพื้นฐานอยู่ และเมื่อติดเชื้อ อาการของโรคก็จะน้อยลง หรือไม่มีอาการ แล้วจะกระตุ้นภูมิต้านทานให้สูงขึ้น และการติดเชื้อครั้งต่อๆไปอาการจะน้อยลงไปเรื่อยๆจนไม่มีอาการ
การติดเชื้อครั้งแรกเมื่อยังไม่มีภูมิต้านทานเลย อาการจะรุนแรงได้ และเมื่อมีภูมิต้านทานเกิดขึ้นแล้ว ไม่ว่าจะจากวัคซีนหรือการติดเชื้อครั้งแรก การติดเชื้อครั้งต่อไปอาการก็จะน้อยลงและในที่สุดก็จะเป็นแบบไม่มีอาการ และโรคนี่ก็จะอยู่กับเรา โดยที่ติดเชื้อแล้วอาการไม่รุนแรง หรืออัตราการเสียชีวิตน้อยมาก อย่างเช่นโรคทางเดินหายใจทั่วไป
เป้าหมายการฉีดวัคซีนเพื่อให้เกิดภูมิคุ้มกันหมู่ ใน covid 19 ภูมิคุ้มกันไม่สามารถป้องกันการติดเชื้อได้ แต่ป้องกันความรุนแรงของโรคได้ ภูมิคุ้มกันหมู่ที่ตั้งเป้าไว้จึงไม่สามารถที่จะนำมาใช้ได้ ทุกคนจะต้องสร้างภูมิคุ้มกันขึ้นมาจากการฉีดวัคซีน หรือติดโรค แล้วเมื่อเป็นซ้ำก็จะไม่มีอาการหรืออาการน้อยลง
เมื่อเป็นเช่นนี้ ปริมาณการฉีดวัคซีนที่คาดไว้แต่เดิมในการลดการระบาดของโรค เพื่อให้เกิดภูมิคุ้มกันหมู่จึงไม่สามารถนำมาใช้ได้ หรือกล่าวว่าต่อไปนี้ทุกคนจะต้องสร้างภูมิขึ้นมาเพื่อลดความรุนแรงของโรคที่จะเกิดในกรณีที่เป็นซ้ำ และในอนาคตเด็กเล็กที่เกิดมา ยังไม่มีภูมิก็จะมีการติดโรคโดยธรรมชาติ ซึ่งโรคนี้ไม่รุนแรงสำหรับเด็ก และก็จะเกิดภูมิคุ้มกันขึ้นมาหลังจากการติดเชื้อในวัยเด็ก แบบโรคทางเดินหายใจทั่วไปที่เราพบในเด็กมากกว่าผู้ใหญ่ เพราะผู้ใหญ่เคยติดเชื้อในวัยเด็กและมีภูมิอยู่แล้ว
โรคนี้จะอยู่กับเราตลอดไป จำนวนวัคซีนที่จะใช้จึงต้องใช้สำหรับประชากรทุกคนในประเทศไทยทุกคน ในการสร้างภูมิคุ้มกันพื้นฐาน เพื่อลดความรุนแรงของโรคในกรณีที่มีการติดเชื้อ หรือให้เป็นแบบไม่มีอาการ ในครั้งต่อไป
https://mgronline.com/qol/detail/9640000087514
วันนี้ป่วยเพิ่มขึ้น แต่หายป่วยมากกว่าเดิม
ลดคนป่วยในโรงพยาบาลลงไปได้อีกค่ะ
เห็นคุณยายกลัวเข็มแล้วสงสารท่านนะคะ แต่อดยิ้มไม่ได้ ท่านเหมือนเด็กกลัวเข็มฉีดยา
คุณหมอ ยง ท่านออกมาพูดว่า ทุกคนต้องฉีดวัคซีน เพราะแม้ฉีดได้มากตามที่คาดไว้ว่าจะเกิดภูมิคุ้มกันหมู่ แต่ก็ไม่ทำให้หยุดติดเชื้อได้
ต่อไปก็ฉีดทุกคน นอกจากเด็กเกิดใหม่ที่ติดเชื้อจะเกิดภูมิต้านทานได้เองในวัยเด็ก
วัคซีนเท่านั้นคือคำตอบสุดท้ายค่ะ