☭
☭
Semiaquatic Whale หรือ เทพมรณะ
ที่อาศัยในช่วง 43 ล้านปีก่อน (© Illustration by Robert W. Boessenecker)
☭
☭
☭
☭
ปลาวาฬครึ่งบกครึ่งน้ำ เดินบนบก ว่ายในน้ำ
เป็นกึ่งสัตว์น้ำที่มีชีวิตอยู่เมื่อ 43 ล้านปีก่อน
มีความน่ากลัวสยดสยองอย่างแรง
นักบรรพชีวินวิทยา ได้ตั้งชื่อมันตามชื่อ
Anubis
เทพเจ้าแห่งความตายของอียิปต์โบราณ
เป็นสายพันธุ์ค้นพบใหม่ยาว 10 ฟุต (3 เมตร)
ซึ่งเรียกว่า
Phiomicetus anubis
เป็นสัตว์ดุร้าย เดินบนบกและว่ายน้ำได้
ที่กรามมีกล้ามเนื้อทรงพลัง ใช้งับเหยื่อได้ง่าย ๆ
เช่น จระเข้ สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดเล็ก
รวมทั้งสัตว์อื่น ๆ ที่เป็นพวกสายพันธุ์ปลาวาฬ
นักวิจัยตั้งข้อสังเกตว่า ที่สำคัญยิ่งไปกว่านั้น
กะโหลกหัวของปลาวาฬสายพันธุ์นี้
มีความคล้ายคลึงกับกะโหลกศีรษะ Anubis
เทพมรณะอียิปต์ ที่มีหัวเป็นสุนัขจิ้งจอก
" มันเป็นนักล่าที่ประสบความสำเร็จและก้าวร้าวอย่างแรง
ผมคิดว่า มันเป็นเทพเจ้าแห่งความตาย
สำหรับสัตว์ส่วนใหญ่ที่อาศัยอยู่ในพื้นที่เดียวกับมัน "
ผู้เขียนบทนำการศึกษา Abdullah Gohar
นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา
ด้านซากดึกดำบรรพ์สัตว์มีกระดูกสันหลัง
มหาวิทยาลัย Mansoura ในอียิปต์
ให้สัมภาษณ์กับ WordsSideKick.com
☭
☭
☭
☭
☭
แม้ว่าในทุกวันนี้ ปลาวาฬจะอาศัยอยู่ในน้ำ
แต่บรรพบุรุษของพวกมันเริ่มต้นจากบนบก
และค่อย ๆ วิวัฒนาการกลายเป็นสัตว์ทะเล
(คลอดลูกออกเป็นตัว
เลี้ยงลูกด้วยนม)
ปลาวาฬชนิดแรกสุดที่รู้จักคือ
Pakicetus attocki
มีขนาดเท่าหมาป่า ที่มีชีวิตอยู่เมื่อ 50 ล้านปีก่อน
ณ ปัจจุบันคือ ประเทศปากีสถาน
Jonathan Geisler รองศาสตราจารย์
ด้านกายวิภาคศาสตร์ที่ New York Institute of Technology
แม้ว่าจะไม่ได้เกี่ยวข้องกับการศึกษากล่าวว่า
" การค้นพบครั้งใหม่ของ P. anubis
ทำให้เกิดความกระจ่างมากขึ้นเกี่ยวกับ
วิวัฒนาการของปลาวาฬจากฟอสซิลนี้
เริ่มทำให้เรารู้สึกว่า เมื่อปลาวาฬเริ่มย้ายออกจากภูมิภาค
มหาสมุทรอินโด-ปากีสถาน แล้วเริ่มกระจายไปทั่วโลก ”
Jonathan Geisler ให้สัมภาษณ์กับ Live Science
☭

☭
P. attocki, Canadian Museum of Nature
☭
☭

☭
ฟอสซิลปลาวาฬ © Museum of New Zealand Te Papa Tongarewa, 2008
☭
☭
" ในปี 2008
นักบรรพชีวินวิทยาค้นพบซากดึกดำบรรพ์ของ P. anubis
ระหว่างการสำรวจ
Fayum Depression ของอียิปต์
ซึ่งเป็นพื้นที่ ที่มีชื่อเสียงด้านฟอสซิลสัตว์ทะเล
รวมทั้ง วัวทะเล
Sea Cows และ ปลาวาฬ
สืบมาจากยุค Eocene (56 ล้านถึง 33.9 ล้านปีก่อน)
การสำรวจนำโดยผู้ร่วมวิจัย Mohamed Sameh Antar
นักบรรพชีวินวิทยาสัตว์มีกระดูกสันหลัง
ร่วมกับ สำนักงานกิจการสิ่งแวดล้อมของอียิปต์
ทำให้นี่เป็นครั้งแรกที่ทีมอาหรับได้ค้นพบสัตว์ชนิดใหม่
และตั้งชื่อ ปลาวาฬสายพันธุ์ใหม่ "
Abdullah Gohar ให้สัมภาษณ์
☭

☭
Fayum Depression ใน Egypt ที่ค้นพบฟอสซิล
ปลาวาฬ Paleontologists © Gohar A.S. et al (2021)
☭
☭

☭
Jean-Léon Gérôme, View of Medinet El-Fayoum, c. 1868-1870
☭
☭

☭
Fayum Egypt
☭
☭
☭
Steller's sea cow
(Hydrodamalis gigas)
ค้นพบช่วงศตวรรษที่ 18 เติบโตใกล้ชายหาด
☭
☭
จากการวิเคราะห์ซากบางส่วนของปลาวาฬ
ซึ่งเป็นชิ้นส่วนของกะโหลกหัว กราม ฟัน กระดูกสันหลัง และซี่โครง
ทีมงานค้นพบว่า P. anubis น้ำหนัก 1,300 ปอนด์ (600 กิโลกรัม)
เป็นปลาวาฬที่เก่าแก่ที่สุด (หรือ ดึกดำบรรพ์ )
ในแอฟริกาตั้งแต่ กลุ่มปลาวาฬกึ่งน้ำที่เรียกว่า
Protocetid
ซากของ P. anubis ชี้ชัดว่า ปลาวาฬชนิด Protocetid
ได้พัฒนาลักษณะทางกายวิภาคใหม่ 2-3 อย่าง
และวิวัฒนาการเชิงกลยุทธ์ในการหาอาหารกิน
ตัวอย่างเช่น มีฟันซี่ที่สาม ยาวติดกับเขี้ยวของมัน
แสดงให้เห็นว่า ฟันและเขี้ยวถูกใช้เพื่อการงับ
ทำให้ร่างกายเหยื่ออ่อนแอลง เสียเลือด หยุดนิ่ง
ทั้งยังงับเหยื่อได้อย่างรวดเร็ว มั่นคง หยุดนิ่ง
และดิ้นรนหลุดยากกว่าสัตว์อื่น (เช่น ปลา)
ก่อนที่ฟันชุดนี้จะถูกย้ายไปที่ ฟันแก้ม
ทึ่ใช้เคี้ยวเหยื่อเป็นชิ้นเล็ก ๆ แล้วกลืนเข้าไป
ยิ่งไปกว่านั้น กล้ามเนื้อขนาดใหญ่บนหัวของมัน
จะทำให้เกิดแรงกัด/งับ ที่ทรงพลังมาก
ทำให้มันสามารถงับหยื่อขนาดใหญ่
ให้กระดูกหัก หรือแหลกได้หลังการกัดได้
เรายังค้นพบว่า [มัน] มีกรามที่ดุร้าย อันตรายถึงตาย
และทรงพลังสามารถฉีกขาดเหยื่อได้หลายชนิด ”
Abdullah. Gohar กล่าว
☭
☭

☭
นักบรรพชีวิตชาวอียิปต์ ห้อมล้อมฟอสซิล
ปลาวาฬสายพันธุ์ใหม่
Phiomicetus anubis
ที่ Mansoura University Vertebrate Paleontology center
จากซ้าย Mohamed Sameh Antar Abdullah Gohar และ Hesham Sallam © Abdullah Gohar
☭
☭
" ฟอสซิลปลาวาฬ P. anubis คงไม่ใช่ซากเพียงตัวเดียว
ที่มีในยุคกลาง
Eocene of Egypt
เพราะยังมีซากดึกดำบรรพ์จากพื้นที่เดียวกับ
ที่ค้นพบปลาวาฬ
Rayanistes afer ก่อนหน้านี้
การค้นพบครั้งนี้บ่งชี้ได้ว่า
ปลาวาฬดึกดำบรรพ์รุ่นก่อนทั้งสองชนิดนี้
ต่างอาศัยอยู่ในเวลาและสถานที่เดียวกัน
แต่มีแนวโน้มว่า จะครอบครองพื้นที่ดังกล่าว
ในช่วงเวลาที่ใกล้เคียงกัน/ระยะเวลาเดียวกัน
เป็นไปได้ด้วยซ้ำที่ P. anubis ล่า R. afer เพื่อกิน
ทำให้ชื่อ Anubis เหมาะสมยิ่งขึ้น
สำหรับเหยื่อบางตัวของ P. anubis
เช่น ซี่โครงของปลาวาฬที่มีรอยกัด
ที่อธิบายว่า เคยถูกปลาฉลามกัดอย่างรุนแรง
แต่ถ้าวัดขนาดรอยฟันปลาฉลามมีขนาดเล็ก
และไม่น่าจะมีขนาดใหญ่พอที่จะฆ่าปลาวาฬได้
เมื่อเทียบกับขนาดรูปร่างของปลาฉลาม
ที่สันนิษฐานจากซากดึกดำบรรพ์ของพวกมัน "
Abdullah Gohar กล่าว
Abdullah Gohar และทีมงานร่วมกันวิเคราะห์
ฟอสซิลในห้องทดลองของ Hesham Sallam
ผู้ก่อตั้งศูนย์บรรพชีวินวิทยากระดูกสันหลัง
Mansoura University
Vertebrate Paleontology Center
และ ท่านคือ ผู้เขียนอาวุโสของการศึกษาครั้งนี้
ผลการศึกษาได้รับการเผยแพร่ทางออนไลน์วันพุธ (25 ส.ค.2021)
ในวารสาร
Journal of the Royal Society B: Biological Sciences
เรียบเรียง/ที่มา
https://bit.ly/3BgW1oV
เรื่องเล่าไร้สาระ
การใช้คำว่า ปลาวาฬ แทน วาฬ
เพราะภาษา คือ การสื่อความหมายให้เข้าใจตรงกัน
และเป็นวัฒนธรรมร่วมกันมานานนมกาเลหลายร้อยปี
การตัดคำหรือกร่อนคำบางครั้งอาจจะทำให้เข้าใจผิดกัน
การเปลี่ยนแปลงคำบางคำกว่าจะยอมรับใช้กันต้องใช้เวลามาก
ภาษามีชีวิตมีวิวัฒนาการ ต่อให้ใช้กันผิด ๆ
มีคนนิยม/ชอบใช้กันมากก็ถือว่า ถูกตัอง
เช่นคำว่า งัว วัว แซบ แซ่บ อายิโน๊ะโมโต๊ะ แฟ๊บ
ถ้อยคำสำนวน สุภาษิตต่าง ๆ ที่ใช้กัน
ที่มา
ล้อม เพ็งแก้ว คนพัทลุงแต่ดังที่เพชรบุรี
จนคนบอกว่า อย่าไปยุ่งกับแก อย่าไปเถียงแก
ขนาดผู้ว่าราชการจังหวัด ยังเถียงแพ้แก แพ้คดีแก
แม้แต่ฝรั่งเองก็ยังเรียกแบบเดิม ๆ
แม้ว่าจะรู้ว่าไม่ใช่ปลาแล้ว เช่น
ปลาหมีกกระดอง (ไม่ใช่ปลา) = Cuttlefish
แมงกะพรุน (ไม่ใช่ปลา) = Jellyfish
กุ้งน้ำจืดชนิดหนึ่งมีลักษณะคล้ายกุ้งมังกร
(ไม่ใช่ปลา) = Crayfish หรือ Crawfish
ปลาดาว (ไม่ใช่ปลา) = Starfish
ม้าน้ำ = Seahorse
สิงโตทะเล = Sealion
อนึ่ง ภาษาแถวบ้าน คำว่า วาน
กร่อนมาจากคำว่า ทวาร
คือ คำดูถูกเหยียดหยามอีกฝ่ายหนึ่ง
ว่ามีคุณค่าต่ำกว่ารูก้น (ทวารหนัก) ของคนด่า
มีไว้ถ่ายหนักอย่างเดียวให้หมา หมู กิน
แต่ถ้าเรียกหยอกเย้าเด็กเล่น มักจะพูดว่า
ไอ้วานดำ ไอ้ตูดหมึก(ขี้ปลาหมึกสีดำ)
ถ้าเอ่ยคำว่า วาน เฉย ๆ ขึ้นมา
โดยไม่มีบริบทที่เกี่ยวข้อง
พอดีพอร้ายอาจจะมีปัญหาชีวิตได้
เช่น ได้หมากกิน(ถูกชกปาก) ปากแดงเถือกเลย
เพราะถือว่า ด่าฝ่ายตรงข้ามต่ำตมมาก
แม่ค้าในตลาดแถวบ้าน เวลาทะเลาะกัน
วาทกรรมยอดนิยม มักจะด่าฝ่ายตรงข้ามว่า
วานเด่ วานเด่ วานกูเด่ วานกูเด่
พร้อมกับยืนหันหลังให้เอี้ยวคอด่า 2 คำวาน
ทำท่าจะถลกผ้าถุงโชว์วานให้ฝ่ายตรงข้ามดู
ไทยมุงจะคอยเชียร์ว่า ใครจะกล้าถลกผ้าถุงก่อน
จะได้เห็นก้น/วานกระดำกระด่าง ข้างหลังผ้าถุง
ในอดีตจนถึงทุกวันนี้ คือ ของลับ/ของสงวน
ยิ่งกว่าขาอ่อน ที่ไม่ใหัใครได้ดูง่าย ๆ
ใครถลกผ้าถุงโชว์วานก่อน จะมีเสียง เฮ
แบบชอบใจคนดู สะใจคนดู ถือว่า มีชัยไปแล้ว
ส่วนคนที่ไม่กล้าถลกผ้าถุงโชว์วาน ถือว่าแพ้
แบบแอนตาซินไม่จ่ายค่าแผลแตกแต่อย่างใด
แต่ถ้ากล้าถลกวานต่อสู้ ก็ถือว่า แค่เสมอกัน
ปลาวาฬยุคโบราณเดินได้ว่ายน้ำได้
☭
Semiaquatic Whale หรือ เทพมรณะ
ที่อาศัยในช่วง 43 ล้านปีก่อน (© Illustration by Robert W. Boessenecker)
☭
☭
☭
☭
ปลาวาฬครึ่งบกครึ่งน้ำ เดินบนบก ว่ายในน้ำ
เป็นกึ่งสัตว์น้ำที่มีชีวิตอยู่เมื่อ 43 ล้านปีก่อน
มีความน่ากลัวสยดสยองอย่างแรง
นักบรรพชีวินวิทยา ได้ตั้งชื่อมันตามชื่อ Anubis
เทพเจ้าแห่งความตายของอียิปต์โบราณ
เป็นสายพันธุ์ค้นพบใหม่ยาว 10 ฟุต (3 เมตร)
ซึ่งเรียกว่า Phiomicetus anubis
เป็นสัตว์ดุร้าย เดินบนบกและว่ายน้ำได้
ที่กรามมีกล้ามเนื้อทรงพลัง ใช้งับเหยื่อได้ง่าย ๆ
เช่น จระเข้ สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดเล็ก
รวมทั้งสัตว์อื่น ๆ ที่เป็นพวกสายพันธุ์ปลาวาฬ
นักวิจัยตั้งข้อสังเกตว่า ที่สำคัญยิ่งไปกว่านั้น
กะโหลกหัวของปลาวาฬสายพันธุ์นี้
มีความคล้ายคลึงกับกะโหลกศีรษะ Anubis
เทพมรณะอียิปต์ ที่มีหัวเป็นสุนัขจิ้งจอก
" มันเป็นนักล่าที่ประสบความสำเร็จและก้าวร้าวอย่างแรง
ผมคิดว่า มันเป็นเทพเจ้าแห่งความตาย
สำหรับสัตว์ส่วนใหญ่ที่อาศัยอยู่ในพื้นที่เดียวกับมัน "
ผู้เขียนบทนำการศึกษา Abdullah Gohar
นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา
ด้านซากดึกดำบรรพ์สัตว์มีกระดูกสันหลัง
มหาวิทยาลัย Mansoura ในอียิปต์
ให้สัมภาษณ์กับ WordsSideKick.com
☭
☭
☭
☭
แม้ว่าในทุกวันนี้ ปลาวาฬจะอาศัยอยู่ในน้ำ
แต่บรรพบุรุษของพวกมันเริ่มต้นจากบนบก
และค่อย ๆ วิวัฒนาการกลายเป็นสัตว์ทะเล
(คลอดลูกออกเป็นตัว เลี้ยงลูกด้วยนม)
ปลาวาฬชนิดแรกสุดที่รู้จักคือ Pakicetus attocki
มีขนาดเท่าหมาป่า ที่มีชีวิตอยู่เมื่อ 50 ล้านปีก่อน
ณ ปัจจุบันคือ ประเทศปากีสถาน
Jonathan Geisler รองศาสตราจารย์
ด้านกายวิภาคศาสตร์ที่ New York Institute of Technology
แม้ว่าจะไม่ได้เกี่ยวข้องกับการศึกษากล่าวว่า
" การค้นพบครั้งใหม่ของ P. anubis
ทำให้เกิดความกระจ่างมากขึ้นเกี่ยวกับ
วิวัฒนาการของปลาวาฬจากฟอสซิลนี้
เริ่มทำให้เรารู้สึกว่า เมื่อปลาวาฬเริ่มย้ายออกจากภูมิภาค
มหาสมุทรอินโด-ปากีสถาน แล้วเริ่มกระจายไปทั่วโลก ”
Jonathan Geisler ให้สัมภาษณ์กับ Live Science
P. attocki, Canadian Museum of Nature
☭
☭
ฟอสซิลปลาวาฬ © Museum of New Zealand Te Papa Tongarewa, 2008
☭
☭
" ในปี 2008
นักบรรพชีวินวิทยาค้นพบซากดึกดำบรรพ์ของ P. anubis
ระหว่างการสำรวจ Fayum Depression ของอียิปต์
ซึ่งเป็นพื้นที่ ที่มีชื่อเสียงด้านฟอสซิลสัตว์ทะเล
รวมทั้ง วัวทะเล Sea Cows และ ปลาวาฬ
สืบมาจากยุค Eocene (56 ล้านถึง 33.9 ล้านปีก่อน)
การสำรวจนำโดยผู้ร่วมวิจัย Mohamed Sameh Antar
นักบรรพชีวินวิทยาสัตว์มีกระดูกสันหลัง
ร่วมกับ สำนักงานกิจการสิ่งแวดล้อมของอียิปต์
ทำให้นี่เป็นครั้งแรกที่ทีมอาหรับได้ค้นพบสัตว์ชนิดใหม่
และตั้งชื่อ ปลาวาฬสายพันธุ์ใหม่ "
Abdullah Gohar ให้สัมภาษณ์
Fayum Depression ใน Egypt ที่ค้นพบฟอสซิล
ปลาวาฬ Paleontologists © Gohar A.S. et al (2021)
☭
☭
Jean-Léon Gérôme, View of Medinet El-Fayoum, c. 1868-1870
☭
☭
Fayum Egypt
☭
☭
☭
Steller's sea cow (Hydrodamalis gigas)
ค้นพบช่วงศตวรรษที่ 18 เติบโตใกล้ชายหาด
☭
☭
จากการวิเคราะห์ซากบางส่วนของปลาวาฬ
ซึ่งเป็นชิ้นส่วนของกะโหลกหัว กราม ฟัน กระดูกสันหลัง และซี่โครง
ทีมงานค้นพบว่า P. anubis น้ำหนัก 1,300 ปอนด์ (600 กิโลกรัม)
เป็นปลาวาฬที่เก่าแก่ที่สุด (หรือ ดึกดำบรรพ์ )
ในแอฟริกาตั้งแต่ กลุ่มปลาวาฬกึ่งน้ำที่เรียกว่า Protocetid
ซากของ P. anubis ชี้ชัดว่า ปลาวาฬชนิด Protocetid
ได้พัฒนาลักษณะทางกายวิภาคใหม่ 2-3 อย่าง
และวิวัฒนาการเชิงกลยุทธ์ในการหาอาหารกิน
ตัวอย่างเช่น มีฟันซี่ที่สาม ยาวติดกับเขี้ยวของมัน
แสดงให้เห็นว่า ฟันและเขี้ยวถูกใช้เพื่อการงับ
ทำให้ร่างกายเหยื่ออ่อนแอลง เสียเลือด หยุดนิ่ง
ทั้งยังงับเหยื่อได้อย่างรวดเร็ว มั่นคง หยุดนิ่ง
และดิ้นรนหลุดยากกว่าสัตว์อื่น (เช่น ปลา)
ก่อนที่ฟันชุดนี้จะถูกย้ายไปที่ ฟันแก้ม
ทึ่ใช้เคี้ยวเหยื่อเป็นชิ้นเล็ก ๆ แล้วกลืนเข้าไป
ยิ่งไปกว่านั้น กล้ามเนื้อขนาดใหญ่บนหัวของมัน
จะทำให้เกิดแรงกัด/งับ ที่ทรงพลังมาก
ทำให้มันสามารถงับหยื่อขนาดใหญ่
ให้กระดูกหัก หรือแหลกได้หลังการกัดได้
เรายังค้นพบว่า [มัน] มีกรามที่ดุร้าย อันตรายถึงตาย
และทรงพลังสามารถฉีกขาดเหยื่อได้หลายชนิด ”
Abdullah. Gohar กล่าว
☭
นักบรรพชีวิตชาวอียิปต์ ห้อมล้อมฟอสซิล
ปลาวาฬสายพันธุ์ใหม่ Phiomicetus anubis
ที่ Mansoura University Vertebrate Paleontology center
จากซ้าย Mohamed Sameh Antar Abdullah Gohar และ Hesham Sallam © Abdullah Gohar
☭
☭
" ฟอสซิลปลาวาฬ P. anubis คงไม่ใช่ซากเพียงตัวเดียว
ที่มีในยุคกลาง Eocene of Egypt
เพราะยังมีซากดึกดำบรรพ์จากพื้นที่เดียวกับ
ที่ค้นพบปลาวาฬ Rayanistes afer ก่อนหน้านี้
การค้นพบครั้งนี้บ่งชี้ได้ว่า
ปลาวาฬดึกดำบรรพ์รุ่นก่อนทั้งสองชนิดนี้
ต่างอาศัยอยู่ในเวลาและสถานที่เดียวกัน
แต่มีแนวโน้มว่า จะครอบครองพื้นที่ดังกล่าว
ในช่วงเวลาที่ใกล้เคียงกัน/ระยะเวลาเดียวกัน
เป็นไปได้ด้วยซ้ำที่ P. anubis ล่า R. afer เพื่อกิน
ทำให้ชื่อ Anubis เหมาะสมยิ่งขึ้น
สำหรับเหยื่อบางตัวของ P. anubis
เช่น ซี่โครงของปลาวาฬที่มีรอยกัด
ที่อธิบายว่า เคยถูกปลาฉลามกัดอย่างรุนแรง
แต่ถ้าวัดขนาดรอยฟันปลาฉลามมีขนาดเล็ก
และไม่น่าจะมีขนาดใหญ่พอที่จะฆ่าปลาวาฬได้
เมื่อเทียบกับขนาดรูปร่างของปลาฉลาม
ที่สันนิษฐานจากซากดึกดำบรรพ์ของพวกมัน "
Abdullah Gohar กล่าว
Abdullah Gohar และทีมงานร่วมกันวิเคราะห์
ฟอสซิลในห้องทดลองของ Hesham Sallam
ผู้ก่อตั้งศูนย์บรรพชีวินวิทยากระดูกสันหลัง
Mansoura University
Vertebrate Paleontology Center
และ ท่านคือ ผู้เขียนอาวุโสของการศึกษาครั้งนี้
ผลการศึกษาได้รับการเผยแพร่ทางออนไลน์วันพุธ (25 ส.ค.2021)
ในวารสาร Journal of the Royal Society B: Biological Sciences
เรียบเรียง/ที่มา
https://bit.ly/3BgW1oV
☭
☭
© https://bit.ly/3gJbztG
☭
☭
☭
Rayanistes afer
☭
☭
☭
Journal of the Royal Society B: Biological Sciences
☭
☭
ภาพถ่ายปลาวาฬกับปลาโลมาหลังผ่านงานมา 25 ปี
☭
☭
☭
ภาพถ่ายปลาวาฬสเปิร์มกำลังงีบหลับ
☭
☭
☭
14 ภาพถ่ายที่น่าตะลึงของปลาวาฬ
☭
☭
☭
Mocha Dick ปลาวาฬผู้ให้กำเนิดนิยาย Moby Dick
☭
☭
☭
การระเบิดซากปลาวาฬสเปิร์ม
☭
☭
Oregon's Exploding Whale - 1970 KATU (original report)
☭
☭
☭
☭
☭
☭
☭
☭
เรื่องเล่าไร้สาระ
การใช้คำว่า ปลาวาฬ แทน วาฬ
เพราะภาษา คือ การสื่อความหมายให้เข้าใจตรงกัน
และเป็นวัฒนธรรมร่วมกันมานานนมกาเลหลายร้อยปี
การตัดคำหรือกร่อนคำบางครั้งอาจจะทำให้เข้าใจผิดกัน
การเปลี่ยนแปลงคำบางคำกว่าจะยอมรับใช้กันต้องใช้เวลามาก
ภาษามีชีวิตมีวิวัฒนาการ ต่อให้ใช้กันผิด ๆ
มีคนนิยม/ชอบใช้กันมากก็ถือว่า ถูกตัอง
เช่นคำว่า งัว วัว แซบ แซ่บ อายิโน๊ะโมโต๊ะ แฟ๊บ
ถ้อยคำสำนวน สุภาษิตต่าง ๆ ที่ใช้กัน
ที่มา ล้อม เพ็งแก้ว คนพัทลุงแต่ดังที่เพชรบุรี
จนคนบอกว่า อย่าไปยุ่งกับแก อย่าไปเถียงแก
ขนาดผู้ว่าราชการจังหวัด ยังเถียงแพ้แก แพ้คดีแก
แม้แต่ฝรั่งเองก็ยังเรียกแบบเดิม ๆ
แม้ว่าจะรู้ว่าไม่ใช่ปลาแล้ว เช่น
ปลาหมีกกระดอง (ไม่ใช่ปลา) = Cuttlefish
แมงกะพรุน (ไม่ใช่ปลา) = Jellyfish
กุ้งน้ำจืดชนิดหนึ่งมีลักษณะคล้ายกุ้งมังกร
(ไม่ใช่ปลา) = Crayfish หรือ Crawfish
ปลาดาว (ไม่ใช่ปลา) = Starfish
ม้าน้ำ = Seahorse
สิงโตทะเล = Sealion
อนึ่ง ภาษาแถวบ้าน คำว่า วาน
กร่อนมาจากคำว่า ทวาร
คือ คำดูถูกเหยียดหยามอีกฝ่ายหนึ่ง
ว่ามีคุณค่าต่ำกว่ารูก้น (ทวารหนัก) ของคนด่า
มีไว้ถ่ายหนักอย่างเดียวให้หมา หมู กิน
แต่ถ้าเรียกหยอกเย้าเด็กเล่น มักจะพูดว่า
ไอ้วานดำ ไอ้ตูดหมึก(ขี้ปลาหมึกสีดำ)
ถ้าเอ่ยคำว่า วาน เฉย ๆ ขึ้นมา
โดยไม่มีบริบทที่เกี่ยวข้อง
พอดีพอร้ายอาจจะมีปัญหาชีวิตได้
เช่น ได้หมากกิน(ถูกชกปาก) ปากแดงเถือกเลย
เพราะถือว่า ด่าฝ่ายตรงข้ามต่ำตมมาก
แม่ค้าในตลาดแถวบ้าน เวลาทะเลาะกัน
วาทกรรมยอดนิยม มักจะด่าฝ่ายตรงข้ามว่า
วานเด่ วานเด่ วานกูเด่ วานกูเด่
พร้อมกับยืนหันหลังให้เอี้ยวคอด่า 2 คำวาน
ทำท่าจะถลกผ้าถุงโชว์วานให้ฝ่ายตรงข้ามดู
ไทยมุงจะคอยเชียร์ว่า ใครจะกล้าถลกผ้าถุงก่อน
จะได้เห็นก้น/วานกระดำกระด่าง ข้างหลังผ้าถุง
ในอดีตจนถึงทุกวันนี้ คือ ของลับ/ของสงวน
ยิ่งกว่าขาอ่อน ที่ไม่ใหัใครได้ดูง่าย ๆ
ใครถลกผ้าถุงโชว์วานก่อน จะมีเสียง เฮ
แบบชอบใจคนดู สะใจคนดู ถือว่า มีชัยไปแล้ว
ส่วนคนที่ไม่กล้าถลกผ้าถุงโชว์วาน ถือว่าแพ้
แบบแอนตาซินไม่จ่ายค่าแผลแตกแต่อย่างใด
แต่ถ้ากล้าถลกวานต่อสู้ ก็ถือว่า แค่เสมอกัน