อภิธรรมเป็น ปรมัตถธรรม คือ จิต เจตสิค รูป นิพพาน
ฉนั้น
พระอภิธรรมปิฎก จึงไม่ใช่อภิธรรม
อภิธมฺเม หมายถึง โพธิปักขิยธรรม
คืออริยสัจจ์4 มี
1.ทุกข์ 2.สมุทัย 3.นิโรธ 4.มรรค
กิจในอริยสัจ 4
กิจในอริยสัจ คือสิ่งที่ต้องทำต่ออริยสัจ 4 แต่ละข้อ ได้แก่
1.ปริญญา -
ทุกข์ ควรรู้ คือการทำความเข้าใจปัญหาหรือสภาวะที่เป็นทุกข์อย่างตรงไปตรงมาตามความเป็นจริง เป็นการเผชิญหน้ากับปัญหา
2.ปหานะ -
สมุทัย ควรละ คือการกำจัดสาเหตุที่ทำให้เกิดทุกข์ เป็นการแก้ปัญหาที่เหตุต้นตอ
3.สัจฉิกิริยา -
นิโรธ ควรทำให้แจ้ง คือการเข้าถึงภาวะดับทุกข์ หมายถึงภาวะที่ไร้ปัญหาซึ่งเป็นจุดมุ่งหมาย
4.ภาวนา -
มรรค ควรเจริญ คือการฝึกอบรมปฏิบัติตามทางเพื่อให้ถึงความดับแห่งทุกข์ หมายถึงวิธีการหรือทางที่จะนำไปสู่จุดหมาย
กิจทั้งสี่นี้จะต้องปฏิบัติให้ตรงกับมรรคแต่ละข้อให้ถูกต้อง
การรู้จักกิจในอริยสัจนี้เรียกว่ากิจญาณ
กิจญาณเป็นส่วนหนึ่งของญาณ 3 หรือญาณทัสสนะ
(สัจญาณ, กิจญาณ, กตญาณ)
ซึ่งหมายถึงการหยั่งรู้ครบสามรอบ
ญาณทั้งสามเมื่อเข้าคู่กับกิจในอริยสัจทั้งสี่
จึงได้เป็นญาณทัสนะมีอาการ 12 ดังนี้
1.สัจญาณ หยั่งรู้ความจริงสี่ประการว่า
1.นี่คือทุกข์
2.นี่คือเหตุแห่งทุกข์
3.นี่คือความดับทุกข์
4.นี่คือทางแห่งความดับทุกข์
2.กิจญาณ หยั่งรู้หน้าที่ต่ออริยสัจว่า
1.ทุกข์ควรรู้
2.เหตุแห่งทุกข์ควรละ
3.ความดับทุกข์ควรทำให้ประจักษ์แจ้ง
4.ทางแห่งความดับทุกข์ควรฝึกหัดให้เจริญขึ้น
3.กตญาณ หยั่งรู้ว่าได้ทำกิจที่ควรทำได้เสร็จสิ้นแล้ว
1.ทุกข์ได้กำหนดรู้แล้ว
2.เหตุแห่งทุกข์ได้ละแล้ว
3.ความดับทุกข์ได้ประจักษ์แจ้งแล้ว
4.ทางแห่งความดับทุกข์ได้ปฏิบัติแล้ว
การบรรลุ เป็นพระอรหันต์ ต้องรู้
อภิธมฺเม หมายถึง โพธิปักขิยธรรม
เป็นพระอรหันต์
จะไม่รู้อภิธรรมปิฏกเลย มีมากมาย
แล้วก็มาเรียน พระอภิธรรมปิฎก เพื่อเป็นขุนคลัง
ปริยัติของท่าน "ผู้ประดุจขุนคลัง"
ปริยัติ ๓ อย่าง คือ
อลคัททูปมาปริยัติ ๑
นิสสรณัตถปริยัติ ๑
ภัณฑาคาริยปริยัติ ๑
ปริยัติที่เป็นงูพิษ
เรียนพระอภิธรรมปิฎกไปก็ไม่มีผล
พระอภิธรรมปิฎก
สำหรับพระอภิธรรมปิฎกนั้น
แบ่งออกเป็นเจ็ดคัมภีร์
ซึ่งเรียกย่อว่า สํ. วิ. ธา. ปุ. ก. ย. และ ป. ตามลำดับ ประกอบไปด้วย
1.ธัมมสังคณี (เรียกโดยย่อว่า "สํ.")
- รวมข้อธรรมเข้าเป็นหมวดหมู่แล้วอธิบายทีละประเภท
2.วิภังค์ (เรียกโดยย่อว่า "วิ.")
- ยกหมวดธรรมขึ้นตั้งเป็นหัวข้อเรื่องแล้วแยกแยะออกอธิบายชี้แจงวินิจฉัยโดยละเอียด
3.ธาตุกถา (เรียกโดยย่อว่า "ธา.")
- สังเคราะห์หรือจัดประเภทข้อธรรมต่าง ๆ เข้าเป็นหมวดเป็นหมู่ดังต่อไปนี้ คือ ขันธ์ อายตนะ และธาตุ
4.ปุคคลบัญญัติ (เรียกโดยย่อว่า "ปุ.")
- บัญญัติความหมายบุคคลประเภทต่าง ๆ ตามคุณธรรมที่มีอยู่
5.กถาวัตถุ (เรียกโดยย่อว่า "ก.")
- แถลงและวินิจฉัยทัศนะที่ขัดแย้งกันของนิกายต่าง ๆ ในสมัยสังคายนาครั้งที่ 3
โดยเน้นความถูกต้องของฝ่ายเถรวาท คัมภีร์นี้เป็นบทนิพนธ์ของพระโมคคลีบุตรติสสเถระ
6.ยมก (เรียกโดยย่อว่า "ย.")
- ยกหัวข้อธรรมขึ้นวินิจฉัยด้วยวิธีถามตอบ โดยตั้งคำถามย้อนกันเป็นคู่ ๆ
7.ปัฏฐาน หรือมหาปกรณ์ (เรียกโดยย่อว่า "ป.")
- อธิบายปัจจัย 24 และแสดงความสัมพันธ์ระหว่างธรรมทั้งหลายอย่างละเอียด
อภิธรรมเป็นปรมัตถธรรมตรงไหน?
ฉนั้น
พระอภิธรรมปิฎก จึงไม่ใช่อภิธรรม
อภิธมฺเม หมายถึง โพธิปักขิยธรรม
คืออริยสัจจ์4 มี
1.ทุกข์ 2.สมุทัย 3.นิโรธ 4.มรรค
กิจในอริยสัจ 4
กิจในอริยสัจ คือสิ่งที่ต้องทำต่ออริยสัจ 4 แต่ละข้อ ได้แก่
1.ปริญญา -
ทุกข์ ควรรู้ คือการทำความเข้าใจปัญหาหรือสภาวะที่เป็นทุกข์อย่างตรงไปตรงมาตามความเป็นจริง เป็นการเผชิญหน้ากับปัญหา
2.ปหานะ -
สมุทัย ควรละ คือการกำจัดสาเหตุที่ทำให้เกิดทุกข์ เป็นการแก้ปัญหาที่เหตุต้นตอ
3.สัจฉิกิริยา -
นิโรธ ควรทำให้แจ้ง คือการเข้าถึงภาวะดับทุกข์ หมายถึงภาวะที่ไร้ปัญหาซึ่งเป็นจุดมุ่งหมาย
4.ภาวนา -
มรรค ควรเจริญ คือการฝึกอบรมปฏิบัติตามทางเพื่อให้ถึงความดับแห่งทุกข์ หมายถึงวิธีการหรือทางที่จะนำไปสู่จุดหมาย
กิจทั้งสี่นี้จะต้องปฏิบัติให้ตรงกับมรรคแต่ละข้อให้ถูกต้อง
การรู้จักกิจในอริยสัจนี้เรียกว่ากิจญาณ
กิจญาณเป็นส่วนหนึ่งของญาณ 3 หรือญาณทัสสนะ
(สัจญาณ, กิจญาณ, กตญาณ)
ซึ่งหมายถึงการหยั่งรู้ครบสามรอบ
ญาณทั้งสามเมื่อเข้าคู่กับกิจในอริยสัจทั้งสี่
จึงได้เป็นญาณทัสนะมีอาการ 12 ดังนี้
1.สัจญาณ หยั่งรู้ความจริงสี่ประการว่า
1.นี่คือทุกข์
2.นี่คือเหตุแห่งทุกข์
3.นี่คือความดับทุกข์
4.นี่คือทางแห่งความดับทุกข์
2.กิจญาณ หยั่งรู้หน้าที่ต่ออริยสัจว่า
1.ทุกข์ควรรู้
2.เหตุแห่งทุกข์ควรละ
3.ความดับทุกข์ควรทำให้ประจักษ์แจ้ง
4.ทางแห่งความดับทุกข์ควรฝึกหัดให้เจริญขึ้น
3.กตญาณ หยั่งรู้ว่าได้ทำกิจที่ควรทำได้เสร็จสิ้นแล้ว
1.ทุกข์ได้กำหนดรู้แล้ว
2.เหตุแห่งทุกข์ได้ละแล้ว
3.ความดับทุกข์ได้ประจักษ์แจ้งแล้ว
4.ทางแห่งความดับทุกข์ได้ปฏิบัติแล้ว
การบรรลุ เป็นพระอรหันต์ ต้องรู้
อภิธมฺเม หมายถึง โพธิปักขิยธรรม
เป็นพระอรหันต์
จะไม่รู้อภิธรรมปิฏกเลย มีมากมาย
แล้วก็มาเรียน พระอภิธรรมปิฎก เพื่อเป็นขุนคลัง
ปริยัติของท่าน "ผู้ประดุจขุนคลัง"
ปริยัติ ๓ อย่าง คือ
อลคัททูปมาปริยัติ ๑
นิสสรณัตถปริยัติ ๑
ภัณฑาคาริยปริยัติ ๑
ปริยัติที่เป็นงูพิษ
เรียนพระอภิธรรมปิฎกไปก็ไม่มีผล
พระอภิธรรมปิฎก
สำหรับพระอภิธรรมปิฎกนั้น
แบ่งออกเป็นเจ็ดคัมภีร์
ซึ่งเรียกย่อว่า สํ. วิ. ธา. ปุ. ก. ย. และ ป. ตามลำดับ ประกอบไปด้วย
1.ธัมมสังคณี (เรียกโดยย่อว่า "สํ.")
- รวมข้อธรรมเข้าเป็นหมวดหมู่แล้วอธิบายทีละประเภท
2.วิภังค์ (เรียกโดยย่อว่า "วิ.")
- ยกหมวดธรรมขึ้นตั้งเป็นหัวข้อเรื่องแล้วแยกแยะออกอธิบายชี้แจงวินิจฉัยโดยละเอียด
3.ธาตุกถา (เรียกโดยย่อว่า "ธา.")
- สังเคราะห์หรือจัดประเภทข้อธรรมต่าง ๆ เข้าเป็นหมวดเป็นหมู่ดังต่อไปนี้ คือ ขันธ์ อายตนะ และธาตุ
4.ปุคคลบัญญัติ (เรียกโดยย่อว่า "ปุ.")
- บัญญัติความหมายบุคคลประเภทต่าง ๆ ตามคุณธรรมที่มีอยู่
5.กถาวัตถุ (เรียกโดยย่อว่า "ก.")
- แถลงและวินิจฉัยทัศนะที่ขัดแย้งกันของนิกายต่าง ๆ ในสมัยสังคายนาครั้งที่ 3
โดยเน้นความถูกต้องของฝ่ายเถรวาท คัมภีร์นี้เป็นบทนิพนธ์ของพระโมคคลีบุตรติสสเถระ
6.ยมก (เรียกโดยย่อว่า "ย.")
- ยกหัวข้อธรรมขึ้นวินิจฉัยด้วยวิธีถามตอบ โดยตั้งคำถามย้อนกันเป็นคู่ ๆ
7.ปัฏฐาน หรือมหาปกรณ์ (เรียกโดยย่อว่า "ป.")
- อธิบายปัจจัย 24 และแสดงความสัมพันธ์ระหว่างธรรมทั้งหลายอย่างละเอียด