อิทัปปัจจยตา หรือ ปัจจยาการ เป็นหลักธรรมที่อธิบายถึงการเกิดขึ้นพร้อมแห่งธรรมทั้งหลายเพราะอาศัยกัน,
การที่สิ่งทั้งหลายอาศัยกันจึงเกิดมีขึ้น เช่น ทุกข์เกิดขึ้นเพราะมีปัจจัย 12 เรื่องเกิดขึ้นสืบ ๆ เนื่องกันมาตามลำดับดังนี้ คือ
(จขกท-เพราะจิตเกิดอวิชชา)
เพราะอวิชชาเป็นปัจจัย สังขารทั้งหลายจึงมี
( จขกท-เพราะจิตเกิดสังขาร)
เพราะสังขารเป็นปัจจัย วิญญาณจึงมี
( จขกท-เพราะจิตเกิดวิญญาณ)
เพราะวิญญาณเป็นปัจจัย นามรูปจึงมี(ขันธ์5-จขกท)
( จขกท-เพราะจิตเกิดนามรูป)
เพราะนามรูปเป็นปัจจัย สฬายตนะจึงมี
( จขกท-เพราะจิตเกิดสฬายตนะ)
เพราะสฬายตนะเป็นปัจจัย ผัสสะจึงมี
( จขกท-เพราะจิตเกิดผัสสะ)
เพราะผัสสะเป็นปัจจัย เวทนาจึงมี
( จขกท-เพราะจิตเกิด เวทนา)
เพราะเวทนาเป็นปัจจัย ตัณหาจึงมี
( จขกท-เพราะจิตเกิดตัณหา)
เพราะตัณหาเป็นปัจจัย อุปาทานจึงมี
( จขกท-เพราะจิตเกิดอุปาทาน)
เพราะอุปาทานเป็นปัจจัย ภพจึงมี
( จขกท-เพราะจิตเกิด ภพ)
เพราะภพเป็นปัจจัย ชาติจึงมี
( จขกท-เพราะจิตเกิดชาติ)
เพราะชาติเป็นปัจจัย ชรามรณะจึงมี
( จขกท-เพราะจิตเกิดชรามรณะ)
ความโศก ความคร่ำครวญ ทุกข์ โทมนัส
และความคับแค้นใจ ก็มีพร้อม ความเกิดขึ้นแห่งกองทุกข์ทั้งปวงนี้ จึงมี
อิทัปปัจจยตา เป็นหลักธรรมที่อธิบายถึงการเกิดดับของเจตสิค ที่เกิดขึ้นภายในจิต เป็นอารมณ์ของจิต
การที่สิ่งทั้งหลายอาศัยกันจึงเกิดมีขึ้น เช่น ทุกข์เกิดขึ้นเพราะมีปัจจัย 12 เรื่องเกิดขึ้นสืบ ๆ เนื่องกันมาตามลำดับดังนี้ คือ
(จขกท-เพราะจิตเกิดอวิชชา)
เพราะอวิชชาเป็นปัจจัย สังขารทั้งหลายจึงมี
( จขกท-เพราะจิตเกิดสังขาร)
เพราะสังขารเป็นปัจจัย วิญญาณจึงมี
( จขกท-เพราะจิตเกิดวิญญาณ)
เพราะวิญญาณเป็นปัจจัย นามรูปจึงมี(ขันธ์5-จขกท)
( จขกท-เพราะจิตเกิดนามรูป)
เพราะนามรูปเป็นปัจจัย สฬายตนะจึงมี
( จขกท-เพราะจิตเกิดสฬายตนะ)
เพราะสฬายตนะเป็นปัจจัย ผัสสะจึงมี
( จขกท-เพราะจิตเกิดผัสสะ)
เพราะผัสสะเป็นปัจจัย เวทนาจึงมี
( จขกท-เพราะจิตเกิด เวทนา)
เพราะเวทนาเป็นปัจจัย ตัณหาจึงมี
( จขกท-เพราะจิตเกิดตัณหา)
เพราะตัณหาเป็นปัจจัย อุปาทานจึงมี
( จขกท-เพราะจิตเกิดอุปาทาน)
เพราะอุปาทานเป็นปัจจัย ภพจึงมี
( จขกท-เพราะจิตเกิด ภพ)
เพราะภพเป็นปัจจัย ชาติจึงมี
( จขกท-เพราะจิตเกิดชาติ)
เพราะชาติเป็นปัจจัย ชรามรณะจึงมี
( จขกท-เพราะจิตเกิดชรามรณะ)
ความโศก ความคร่ำครวญ ทุกข์ โทมนัส
และความคับแค้นใจ ก็มีพร้อม ความเกิดขึ้นแห่งกองทุกข์ทั้งปวงนี้ จึงมี