สวนดุสิตโพล สำรวจชี้ปชช.ไม่เห็นด้วยทั้งการชุมนุมและการตอบโต้ของรัฐบาล
https://www.matichon.co.th/politics/news_2611764
สวนดุสิตโพล สำรวจชี้ปชช.ไม่เห็นด้วยทั้งการชุมนุมและการตอบโต้ของรัฐบาล
สวนดุสิตโพล มหาวิทยาลัยสวนดุสิต เปิดผลสำรวจความคิดเห็นของประชาชน เรื่อง “
จุดกึ่งกลางระหว่างการชุมนุมกับรัฐบาล” กลุ่มตัวอย่างจำนวน 1,147 คน โดยสำรวจระหว่างวันที่ 1-5 มีนาคม 2564 พบว่า
ส่วนใหญ่ติดตามข่าวการชุมนุมทางโทรทัศน์มากที่สุด ร้อยละ 70.04
รองลงมาคือ เฟซบุ๊ก การไลฟ์สด โดยเห็นว่าการชุมนุม ณ วันนี้มีการเคลื่อนไหวแตกต่างจากสมัยก่อน
ร้อยละ 55.33 ท่าทีของ รัฐบาลเน้นการสกัดกั้นการชุมนุม จับกุมแกนนำ
ร้อยละ 51.41 มองว่า “จุดกึ่งกลาง” ระหว่างการชุมนุมกับรัฐบาล คือ ทุกฝ่ายต้องยอมรับความเห็นต่าง ถอยคนละก้าว
ร้อยละ 50.07 และกลุ่มตัวอย่างไม่เห็นด้วยกับการชุมนุม
ร้อยละ 27.63
และไม่เห็นด้วยกับท่าทีของรัฐบาลที่มีต่อการชุมนุม ร้อยละ 39.49
โดยเมื่อถามประชาชนถึงการติดตามข่าวสารการชุมนุม พบว่า
ส่วนใหญ่ติดตามข่าวการชุมนุมจากทางโทรทัศน์มากที่สุด 70.04% รองลงมาคือ เฟซบุ๊ก และการไลฟ์สด
เมื่อถามว่าประชาชนคิดเห็นอย่างไรกับการชุมนุม ณ วันนี้ พบว่า
ประชาชนส่วนใหญ่ 55.33% เห็นว่ามีการเคลื่อนไหวแตกต่างจากสมัยก่อน
รองลงมา คือ มีเยาวชนคนรุ่นใหม่เป็นแกนนำ เมื่อถามว่าประชาชนมีความคิดเห็นอย่างไรต่อท่าทีของรัฐบาลที่มีต่อการชุมนุมในครั้งนี้
อันดับแรก ตอบว่าเน้นการสกัดกั้นการชุมนุม/จับกุมแกนนำ
อันดับสอง ตอบว่ามีการใช้กำลังเกินกว่าเหตุ/ใช้มาตรการที่รุนแรง
และอันดับสาม ตอบว่าพยายามควบคุมสถานการณ์
เมื่อถามว่าประชาชนคิดว่าจุดกึ่งกลางระหว่างการชุมนุมกับรัฐบาลคืออะไร
อันดับแรก ตอบว่าทุกฝ่ายต้องยอมรับความเห็นต่าง ถอยคนละก้าว
อันดับสอง ตอบว่า รัฐบาลต้องเปิดใจ รับฟังข้อเรียกร้อง เพื่อทบทวนการทำงาน
และอันดับสาม ตอบว่านายกฯ ต้องลาออก/แก้ไขรัฐธรรมนูญ/ ยุบสภา
ทั้งนี้ เมื่อถามความคิดเห็นของประชาชนต่อการชุมนุม ณ วันนี้ พบว่า
เห็นด้วย 27.63%
ค่อนข้างเห็นด้วย 25.20%
ค่อนข้างไม่เห็นด้วย 23.98%
และเห็นด้วย 23.19%
และเมื่อถามถึงความคิดเห็นของประชาชนต่อท่าทีของรัฐบาลที่มีต่อการชุมนุม ณ วันนี้ พบว่า
ไม่เห็นด้วย 39.49%
ค่อนข้างไม่เห็นด้วย 28.60%
ค่อนข้างเห็นด้วย 23.63%
และเห็นด้วย 8.28%
อนึ่ง ผลการสำรวจดังกล่าว มาจากความคิดเห็นของประชาชนจำนวน 1,147 คน ดำเนินการสำรวจวันที่ 1-5 มีนาคม 2564
น.ส.
พรพรรณ บัวทอง นักวิจัยสวนดุสิตโพล มหาวิทยาลัยสวนดุสิต เปิดเผยว่า ผลการสำรวจสะท้อนให้เห็นว่า ถึงแม้ประชาชนจะไม่เห็นด้วยกับการชุมนุม แต่ก็ไม่เห็นด้วยกับท่าทีของรัฐบาลที่ออกมาตอบโต้เช่นกัน การควบคุมสถานการณ์ที่เน้นการจับกุม การสลายการชุมนุมด้วยแก๊สน้ำตา กระสุนยาง และการฉีดน้ำแรงดันสูง หลายฝ่ายมองว่าเป็นการกระทำที่รุนแรง ไม่ว่าสถานการณ์การชุมนุมและท่าทีของรัฐบาลจะเป็นไปในทิศทางเช่นไร สุดท้ายแล้วก็ควรเร่งหาทางออกที่เป็นจุดกึ่งกลางสำหรับเรื่องนี้ให้ได้โดยเร็ว
********
กระทู้ผลโพลอย่างเป็นทางการของสวนดุสิตโพลครับ
“จุดกึ่งกลางระหว่างการชุมนุมกับรัฐบาล”
https://ppantip.com/topic/40564810
“นิด้าโพล”เผยผลสำรวจคนกรุงครั้งที่ 1 อยากได้ใครเป็นผู้ว่าฯ กทม.
https://www.thansettakij.com/content/normal_news/471190
“นิด้าโพล”เผยผลสำรวจคนกรุงครั้งที่ 1 อยากได้ใครเป็นผู้ว่าฯ กทม. เผยปัญหาการจราจร เป็นเรื่องแรกที่อยากให้ผู้ว่าฯกทม.คนใหม่แก้ไข
ศูนย์สำรวจความคิดเห็น“นิด้าโพล” สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) เปิดเผยผลสำรวจของประชาชน เรื่อง “อยากได้ใครเป็นผู้ว่าฯ กทม." ครั้งที่ 1 ทำการสำรวจระหว่างวันที่ 2 – 3 มีนาคม 2564 จากประชาชนที่มีอายุ 18 ปีขึ้นไป และมีสิทธิเลือกตั้งในกรุงเทพมหานคร กระจายทุกระดับการศึกษา อาชีพ และรายได้ รวมทั้งสิ้น จำนวน 1,315 หน่วยตัวอย่าง เกี่ยวกับประชาชนอยากได้ใครเป็นผู้ว่าฯ กทม. ครั้งที่ 1
จากการสำรวจเมื่อถามถึงที่มาของผู้ว่าฯ กทม. ที่ประชาชนอยากได้ พบว่า
ส่วนใหญ่ ร้อยละ 66.00 ระบุว่า ผู้ว่าฯ กทม. อิสระ
รองลงมา ร้อยละ 17.11 ระบุว่า ผู้ว่าฯ กทม. ที่สังกัดพรรคการเมือง
ร้อยละ 14.30 ระบุว่า อย่างไรก็ได้
และร้อยละ 2.59 ระบุว่า ผู้ว่าฯ กทม. ที่สังกัดกลุ่มการเมือง
ด้านปัญหาที่ประชาชนอยากให้ผู้ว่าฯ กทม. คนใหม่ เร่งแก้ไขมากที่สุด พบว่า
ส่วนใหญ่ ร้อยละ 66.01 ระบุว่า ปัญหาการจราจร
รองลงมา ร้อยละ 35.29 ระบุว่า ปัญหาค่าครองชีพ/ปากท้อง
ร้อยละ 33.84 ระบุว่า ปัญหาสิ่งแวดล้อม เช่น ฝุ่นละออง น้ำเสีย
ร้อยละ 31.18 ระบุว่า ปัญหาน้ำท่วม
ร้อยละ 24.18 ระบุว่า ปัญหายาเสพติด อาชญากรรม มิจฉาชีพ
ร้อยละ 20.15 ระบุว่า ปัญหาเรื่องขยะและ ความสะอาด
ร้อยละ 20.00 ระบุว่า ปัญหาถนน/ทางเท้า ชำรุด ร้อยละ 9.20 ระบุว่า ปัญหาหาบเร่ แผงลอย
ร้อยละ 8.67 ระบุว่า ปัญหาการศึกษา ร้อยละ 8.14 ระบุว่า ปัญหาสุขภาพ/สาธารณสุข
ร้อยละ 5.63 ระบุว่า ปัญหาเรื่องเด็กและเยาวชน
และร้อยละ 0.46 ระบุอื่น ๆ ได้แก่ ปัญหาไฟริมทางไม่เพียงพอ และปัญหาคนเร่ร่อน
ท้ายที่สุดเมื่อถามถึงบุคคลที่ประชาชนจะเลือกให้เป็นผู้ว่าฯ กทม. พบว่า
อันดับ 1 ร้อยละ 29.96 ระบุว่า ยังไม่ตัดสินใจ
อันดับ 2 ร้อยละ 22.43 ระบุว่าเป็น ดร.
ชัชชาติ สิทธิพันธุ์
อันดับ 3 ร้อยละ 15.51 ระบุว่าเป็น พล.ต.อ.
จักรทิพย์ ชัยจินดา
อันดับ 4 ร้อยละ 7.68 ระบุว่าเป็ พล.ต.อ.
อัศวิน ขวัญเมือง
อันดับ 5 ร้อยละ 4.49 ระบุว่าเป็น ผู้สมัครจากพรรคเพื่อไทย
อันดับ 6 ร้อยละ 4.26 ระบุว่าเป็น น.ส.
รสนา โตสิตระกูล และผู้สมัครจากคณะก้าวหน้า หรือ พรรคก้าวไกล ในสัดส่วนที่เท่ากัน
อันดับ 7 ร้อยละ 3.35 ระบุว่าเป็น ดร.
สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์ อันดับ 8
ร้อยละ 3.27 ระบุว่าเป็น ผู้สมัครจากพรรคพลังประชารัฐ
อันดับ 9 ร้อยละ 2.66 ระบุว่าเป็น ผู้สมัครจากพรรคประชาธิปัตย์
อันดับ 10 ร้อยละ 1.75 ระบุว่าเป็น นาย
สกลธี ภัททิยกุล
ร้อยละ 0.23 ระบุว่า เฉย ๆ/ไม่ตอบ/ไม่สนใจ
และร้อยละ 0.15 ระบุว่า ไปลงคะแนนไม่เลือกใคร (Vote NO)
JJNY : ดุสิตโพลชี้ไม่เห็นด้วยทั้งชุมนุมและตอบโต้│อยากได้ใครเป็นผู้ว่าฯ│เอกชนเสนอยืดหนี้│คนส. แถลงจี้รัฐหยุดรุนแรงต่อปชช.
https://www.matichon.co.th/politics/news_2611764
สวนดุสิตโพล มหาวิทยาลัยสวนดุสิต เปิดผลสำรวจความคิดเห็นของประชาชน เรื่อง “จุดกึ่งกลางระหว่างการชุมนุมกับรัฐบาล” กลุ่มตัวอย่างจำนวน 1,147 คน โดยสำรวจระหว่างวันที่ 1-5 มีนาคม 2564 พบว่า
ส่วนใหญ่ติดตามข่าวการชุมนุมทางโทรทัศน์มากที่สุด ร้อยละ 70.04
รองลงมาคือ เฟซบุ๊ก การไลฟ์สด โดยเห็นว่าการชุมนุม ณ วันนี้มีการเคลื่อนไหวแตกต่างจากสมัยก่อน
ร้อยละ 55.33 ท่าทีของ รัฐบาลเน้นการสกัดกั้นการชุมนุม จับกุมแกนนำ
ร้อยละ 51.41 มองว่า “จุดกึ่งกลาง” ระหว่างการชุมนุมกับรัฐบาล คือ ทุกฝ่ายต้องยอมรับความเห็นต่าง ถอยคนละก้าว
ร้อยละ 50.07 และกลุ่มตัวอย่างไม่เห็นด้วยกับการชุมนุม
ร้อยละ 27.63
และไม่เห็นด้วยกับท่าทีของรัฐบาลที่มีต่อการชุมนุม ร้อยละ 39.49
โดยเมื่อถามประชาชนถึงการติดตามข่าวสารการชุมนุม พบว่า
ส่วนใหญ่ติดตามข่าวการชุมนุมจากทางโทรทัศน์มากที่สุด 70.04% รองลงมาคือ เฟซบุ๊ก และการไลฟ์สด
เมื่อถามว่าประชาชนคิดเห็นอย่างไรกับการชุมนุม ณ วันนี้ พบว่า
ประชาชนส่วนใหญ่ 55.33% เห็นว่ามีการเคลื่อนไหวแตกต่างจากสมัยก่อน
รองลงมา คือ มีเยาวชนคนรุ่นใหม่เป็นแกนนำ เมื่อถามว่าประชาชนมีความคิดเห็นอย่างไรต่อท่าทีของรัฐบาลที่มีต่อการชุมนุมในครั้งนี้
อันดับแรก ตอบว่าเน้นการสกัดกั้นการชุมนุม/จับกุมแกนนำ
อันดับสอง ตอบว่ามีการใช้กำลังเกินกว่าเหตุ/ใช้มาตรการที่รุนแรง
และอันดับสาม ตอบว่าพยายามควบคุมสถานการณ์
เมื่อถามว่าประชาชนคิดว่าจุดกึ่งกลางระหว่างการชุมนุมกับรัฐบาลคืออะไร
อันดับแรก ตอบว่าทุกฝ่ายต้องยอมรับความเห็นต่าง ถอยคนละก้าว
อันดับสอง ตอบว่า รัฐบาลต้องเปิดใจ รับฟังข้อเรียกร้อง เพื่อทบทวนการทำงาน
และอันดับสาม ตอบว่านายกฯ ต้องลาออก/แก้ไขรัฐธรรมนูญ/ ยุบสภา
ทั้งนี้ เมื่อถามความคิดเห็นของประชาชนต่อการชุมนุม ณ วันนี้ พบว่า
เห็นด้วย 27.63%
ค่อนข้างเห็นด้วย 25.20%
ค่อนข้างไม่เห็นด้วย 23.98%
และเห็นด้วย 23.19%
และเมื่อถามถึงความคิดเห็นของประชาชนต่อท่าทีของรัฐบาลที่มีต่อการชุมนุม ณ วันนี้ พบว่า
ไม่เห็นด้วย 39.49%
ค่อนข้างไม่เห็นด้วย 28.60%
ค่อนข้างเห็นด้วย 23.63%
และเห็นด้วย 8.28%
อนึ่ง ผลการสำรวจดังกล่าว มาจากความคิดเห็นของประชาชนจำนวน 1,147 คน ดำเนินการสำรวจวันที่ 1-5 มีนาคม 2564
น.ส.พรพรรณ บัวทอง นักวิจัยสวนดุสิตโพล มหาวิทยาลัยสวนดุสิต เปิดเผยว่า ผลการสำรวจสะท้อนให้เห็นว่า ถึงแม้ประชาชนจะไม่เห็นด้วยกับการชุมนุม แต่ก็ไม่เห็นด้วยกับท่าทีของรัฐบาลที่ออกมาตอบโต้เช่นกัน การควบคุมสถานการณ์ที่เน้นการจับกุม การสลายการชุมนุมด้วยแก๊สน้ำตา กระสุนยาง และการฉีดน้ำแรงดันสูง หลายฝ่ายมองว่าเป็นการกระทำที่รุนแรง ไม่ว่าสถานการณ์การชุมนุมและท่าทีของรัฐบาลจะเป็นไปในทิศทางเช่นไร สุดท้ายแล้วก็ควรเร่งหาทางออกที่เป็นจุดกึ่งกลางสำหรับเรื่องนี้ให้ได้โดยเร็ว
********
กระทู้ผลโพลอย่างเป็นทางการของสวนดุสิตโพลครับ
“จุดกึ่งกลางระหว่างการชุมนุมกับรัฐบาล”
https://ppantip.com/topic/40564810
“นิด้าโพล”เผยผลสำรวจคนกรุงครั้งที่ 1 อยากได้ใครเป็นผู้ว่าฯ กทม.
https://www.thansettakij.com/content/normal_news/471190
ศูนย์สำรวจความคิดเห็น“นิด้าโพล” สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) เปิดเผยผลสำรวจของประชาชน เรื่อง “อยากได้ใครเป็นผู้ว่าฯ กทม." ครั้งที่ 1 ทำการสำรวจระหว่างวันที่ 2 – 3 มีนาคม 2564 จากประชาชนที่มีอายุ 18 ปีขึ้นไป และมีสิทธิเลือกตั้งในกรุงเทพมหานคร กระจายทุกระดับการศึกษา อาชีพ และรายได้ รวมทั้งสิ้น จำนวน 1,315 หน่วยตัวอย่าง เกี่ยวกับประชาชนอยากได้ใครเป็นผู้ว่าฯ กทม. ครั้งที่ 1
จากการสำรวจเมื่อถามถึงที่มาของผู้ว่าฯ กทม. ที่ประชาชนอยากได้ พบว่า
ส่วนใหญ่ ร้อยละ 66.00 ระบุว่า ผู้ว่าฯ กทม. อิสระ
รองลงมา ร้อยละ 17.11 ระบุว่า ผู้ว่าฯ กทม. ที่สังกัดพรรคการเมือง
ร้อยละ 14.30 ระบุว่า อย่างไรก็ได้
และร้อยละ 2.59 ระบุว่า ผู้ว่าฯ กทม. ที่สังกัดกลุ่มการเมือง
ด้านปัญหาที่ประชาชนอยากให้ผู้ว่าฯ กทม. คนใหม่ เร่งแก้ไขมากที่สุด พบว่า
ส่วนใหญ่ ร้อยละ 66.01 ระบุว่า ปัญหาการจราจร
รองลงมา ร้อยละ 35.29 ระบุว่า ปัญหาค่าครองชีพ/ปากท้อง
ร้อยละ 33.84 ระบุว่า ปัญหาสิ่งแวดล้อม เช่น ฝุ่นละออง น้ำเสีย
ร้อยละ 31.18 ระบุว่า ปัญหาน้ำท่วม
ร้อยละ 24.18 ระบุว่า ปัญหายาเสพติด อาชญากรรม มิจฉาชีพ
ร้อยละ 20.15 ระบุว่า ปัญหาเรื่องขยะและ ความสะอาด
ร้อยละ 20.00 ระบุว่า ปัญหาถนน/ทางเท้า ชำรุด ร้อยละ 9.20 ระบุว่า ปัญหาหาบเร่ แผงลอย
ร้อยละ 8.67 ระบุว่า ปัญหาการศึกษา ร้อยละ 8.14 ระบุว่า ปัญหาสุขภาพ/สาธารณสุข
ร้อยละ 5.63 ระบุว่า ปัญหาเรื่องเด็กและเยาวชน
และร้อยละ 0.46 ระบุอื่น ๆ ได้แก่ ปัญหาไฟริมทางไม่เพียงพอ และปัญหาคนเร่ร่อน
ท้ายที่สุดเมื่อถามถึงบุคคลที่ประชาชนจะเลือกให้เป็นผู้ว่าฯ กทม. พบว่า
อันดับ 1 ร้อยละ 29.96 ระบุว่า ยังไม่ตัดสินใจ
อันดับ 2 ร้อยละ 22.43 ระบุว่าเป็น ดร.ชัชชาติ สิทธิพันธุ์
อันดับ 3 ร้อยละ 15.51 ระบุว่าเป็น พล.ต.อ.จักรทิพย์ ชัยจินดา
อันดับ 4 ร้อยละ 7.68 ระบุว่าเป็ พล.ต.อ.อัศวิน ขวัญเมือง
อันดับ 5 ร้อยละ 4.49 ระบุว่าเป็น ผู้สมัครจากพรรคเพื่อไทย
อันดับ 6 ร้อยละ 4.26 ระบุว่าเป็น น.ส. รสนา โตสิตระกูล และผู้สมัครจากคณะก้าวหน้า หรือ พรรคก้าวไกล ในสัดส่วนที่เท่ากัน
อันดับ 7 ร้อยละ 3.35 ระบุว่าเป็น ดร.สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์ อันดับ 8
ร้อยละ 3.27 ระบุว่าเป็น ผู้สมัครจากพรรคพลังประชารัฐ
อันดับ 9 ร้อยละ 2.66 ระบุว่าเป็น ผู้สมัครจากพรรคประชาธิปัตย์
อันดับ 10 ร้อยละ 1.75 ระบุว่าเป็น นายสกลธี ภัททิยกุล
ร้อยละ 0.23 ระบุว่า เฉย ๆ/ไม่ตอบ/ไม่สนใจ
และร้อยละ 0.15 ระบุว่า ไปลงคะแนนไม่เลือกใคร (Vote NO)