ปี พ.ศ. 2491
เฮสต์เชื่อว่าพิษงูใช้รักษาโรคได้โดยอาศัยความจริงที่ว่าการได้รับพิษงูครั้งละน้อยๆ จะทำให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันขึ้นมา
และการเพิ่มปริมาณพิษมากขึ้นจะทำให้ภูมิคุ้มกันถูกสร้างเพิ่มมากขึ้นด้วย ความคิดของเฮสต์มีความเป็นวิทยาศาสตร์อยู่ไม่น้อย
เพราะภูมิคุ้มกันที่ร่างกายสร้างมาต้านพิษงูแต่ละชนิดจะต่างกัน และอาจมีฤทธิ์ต้านเชื้อโรคหรือความผิดปกติอย่างอื่นนอกจากพิษงูก็ได้
ทางการแพทย์เรียกว่า Cross immunity หรือภูมิคุ้มกันข้ามสายพันธุ์ เฮสต์ทดลองกับตัวเองก่อน
โดยใช้พิษงูหางกระดิ่งฉีดเข้าร่างกายครั้งละน้อยๆ เริ่มตั้งแต่ พ.ศ.2491 โดยฉีดสัปดาห์ละครั้ง
จนกระทั่งบัดนี้เฮสต์มีภูมิคุ้มกันงูพิษ 32 สายพันธุ์ ....
ราวๆ พ.ศ.2515 เฮสต์ผลิตยาจากพิษงูขึ้นมาขนานหนึ่งชื่อ “โพรเวน” (Proven) นำไปให้หมอคนหนึ่งชื่อ เบ็น เชปพาร์ด
ใช้ หมอ เบ็น เชปพาร์ดเป็นโรคข้ออักเสบชนิดรูมาตอยด์ ปรากฏว่าได้ผลดี หมอเชปพาร์ดจึงใช้ยานี้รักษาผู้ป่วยโรคข้ออักเสบเรื่อยมา
และยังใช้รักษาโรคอื่นๆ อีกหลายอย่าง ต่อมาคลินิกถูกทางการสั่งปิด ตอนนั้นเฮสต์เสียใจมาก
เพราะเขาคิดว่ากำลังจะช่วยให้มนุษยชาติได้ยารักษาโรคที่มีสรรพคุณวิเศษแต่มาถูกทางการสั่งปิด
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้https://sites.google.com/site/siwanut123578/home/khwam-hmay/periyb-theiyb-ngu-mi-phis-kab-mimi-phis
กว่า 70 ปีมาแล้ว ปัจจุบันมี ผู้คนคว้าวิจัย ใช้พิษงูรักษาภูมิต้านทานให้กับตัวเอง เพื่อรักษาโรค และป้องกันโรคต่างๆ
ทิม ฟรีเดอ ซึ่งอาศัยอยู่ในรัฐวิสคอนซินของสหรัฐฯ ถ่ายคลิปขณะที่ตัวเองจงใจให้งูพิษกัด
เขาเคยถูกงูกัดแล้วกว่า 200 ครั้งในช่วง 20 ปีที่ผ่านมา ทั้งงูเห่า งูแมวเซา หรืองูแมมบา
นอกจากนี้ยังฉีดพิษงูเข้าสู่ร่างกายอีกกว่า 700 ครั้ง
คนในวงการวิทยาศาสตร์ วิพากษ์วิจารณ์ แกลนวิลล์ และฟรีเดอ อย่างหนัก
จากวิธีการแหกคอกที่พวกเขาใช้ แต่ทั้งสองคนออกมาปกป้องการวิจัยของตัวเอง
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้https://www.bbc.com/thai/international-49747433
จริงการใช้พิษรักษาโรค ผมว่าเอเซีย หรือ ศาสตร์จีน น่าจะใช้มานานแล้ว
แต่ ตะวันตกเพิ่งมาวิจัย
คห. ส่วนตัว
การใช้พิษจกสัตว์รักษาโรคดูน่ากลัว สยดสยอง แต่น่าจะปลอดภัยกว่า Chemical Therapy
ถ้าหากใช้ในปริมาณที่เหมาะสม ควบคุมโดยผู้เชี่ยวชาญ
ซึ่งคงไม่ต่างจากการฉีดรกแกะเข้าสู่ร่างกาย
:: Bio-medicine ทางเลือกในการรักษาโรค และ ป้องกันโรค
เฮสต์เชื่อว่าพิษงูใช้รักษาโรคได้โดยอาศัยความจริงที่ว่าการได้รับพิษงูครั้งละน้อยๆ จะทำให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันขึ้นมา
และการเพิ่มปริมาณพิษมากขึ้นจะทำให้ภูมิคุ้มกันถูกสร้างเพิ่มมากขึ้นด้วย ความคิดของเฮสต์มีความเป็นวิทยาศาสตร์อยู่ไม่น้อย
เพราะภูมิคุ้มกันที่ร่างกายสร้างมาต้านพิษงูแต่ละชนิดจะต่างกัน และอาจมีฤทธิ์ต้านเชื้อโรคหรือความผิดปกติอย่างอื่นนอกจากพิษงูก็ได้
ทางการแพทย์เรียกว่า Cross immunity หรือภูมิคุ้มกันข้ามสายพันธุ์ เฮสต์ทดลองกับตัวเองก่อน
โดยใช้พิษงูหางกระดิ่งฉีดเข้าร่างกายครั้งละน้อยๆ เริ่มตั้งแต่ พ.ศ.2491 โดยฉีดสัปดาห์ละครั้ง
จนกระทั่งบัดนี้เฮสต์มีภูมิคุ้มกันงูพิษ 32 สายพันธุ์ ....
ราวๆ พ.ศ.2515 เฮสต์ผลิตยาจากพิษงูขึ้นมาขนานหนึ่งชื่อ “โพรเวน” (Proven) นำไปให้หมอคนหนึ่งชื่อ เบ็น เชปพาร์ด
ใช้ หมอ เบ็น เชปพาร์ดเป็นโรคข้ออักเสบชนิดรูมาตอยด์ ปรากฏว่าได้ผลดี หมอเชปพาร์ดจึงใช้ยานี้รักษาผู้ป่วยโรคข้ออักเสบเรื่อยมา
และยังใช้รักษาโรคอื่นๆ อีกหลายอย่าง ต่อมาคลินิกถูกทางการสั่งปิด ตอนนั้นเฮสต์เสียใจมาก
เพราะเขาคิดว่ากำลังจะช่วยให้มนุษยชาติได้ยารักษาโรคที่มีสรรพคุณวิเศษแต่มาถูกทางการสั่งปิด
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
กว่า 70 ปีมาแล้ว ปัจจุบันมี ผู้คนคว้าวิจัย ใช้พิษงูรักษาภูมิต้านทานให้กับตัวเอง เพื่อรักษาโรค และป้องกันโรคต่างๆ
ทิม ฟรีเดอ ซึ่งอาศัยอยู่ในรัฐวิสคอนซินของสหรัฐฯ ถ่ายคลิปขณะที่ตัวเองจงใจให้งูพิษกัด
เขาเคยถูกงูกัดแล้วกว่า 200 ครั้งในช่วง 20 ปีที่ผ่านมา ทั้งงูเห่า งูแมวเซา หรืองูแมมบา
นอกจากนี้ยังฉีดพิษงูเข้าสู่ร่างกายอีกกว่า 700 ครั้ง
คนในวงการวิทยาศาสตร์ วิพากษ์วิจารณ์ แกลนวิลล์ และฟรีเดอ อย่างหนัก
จากวิธีการแหกคอกที่พวกเขาใช้ แต่ทั้งสองคนออกมาปกป้องการวิจัยของตัวเอง
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
จริงการใช้พิษรักษาโรค ผมว่าเอเซีย หรือ ศาสตร์จีน น่าจะใช้มานานแล้ว
แต่ ตะวันตกเพิ่งมาวิจัย
คห. ส่วนตัว
การใช้พิษจกสัตว์รักษาโรคดูน่ากลัว สยดสยอง แต่น่าจะปลอดภัยกว่า Chemical Therapy
ถ้าหากใช้ในปริมาณที่เหมาะสม ควบคุมโดยผู้เชี่ยวชาญ
ซึ่งคงไม่ต่างจากการฉีดรกแกะเข้าสู่ร่างกาย