หน้าแรก
คอมมูนิตี้
ห้อง
แท็ก
คลับ
ห้อง
แก้ไขปักหมุด
ดูทั้งหมด
เกิดข้อผิดพลาดบางอย่าง
ลองใหม่
แท็ก
แก้ไขปักหมุด
ดูเพิ่มเติม
เกิดข้อผิดพลาดบางอย่าง
ลองใหม่
{room_name}
{name}
{description}
กิจกรรม
แลกพอยต์
อื่นๆ
ตั้งกระทู้
เข้าสู่ระบบ / สมัครสมาชิก
เว็บไซต์ในเครือ
Bloggang
Pantown
PantipMarket
Maggang
ติดตามพันทิป
ดาวน์โหลดได้แล้ววันนี้
เกี่ยวกับเรา
กฎ กติกา และมารยาท
คำแนะนำการโพสต์แสดงความเห็น
นโยบายเกี่ยวกับข้อมูลส่วนบุคคล
สิทธิ์การใช้งานของสมาชิก
ติดต่อทีมงาน Pantip
ติดต่อลงโฆษณา
ร่วมงานกับ Pantip
Download App Pantip
Pantip Certified Developer
กาย ในที่นี้ หมายถึงอะไร ขยายความว่าอย่างไร
กระทู้คำถาม
ศาสนาพุทธ
{๒๓๑} ท่านผู้เป็นอุภโตภาควิมุต เป็นอย่างไร คือ บุคคลบางคนในโลกนี้ได้สัมผัสสันตวิโมกข์ ซึ่งไม่มีรูปเพราะล่วงรูปฌาน ได้ด้วย
กาย
อยู่ และอาสวะทั้งหลายของผู้นั้นสิ้นไปเพราะเห็นด้วย
ปัญญา
บุคคลนี้ เราเรียกว่า เป็นอุภโตภาควิมุต
///
[๒๓๘] ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เราย่อมกล่าวการตั้งอยู่ในอรหัตผลด้วยการไปครั้งแรกเท่านั้นหามิได้ แต่การตั้งอยู่ในอรหัตผลนั้น ย่อมมีได้ด้วยการศึกษาโดยลำดับ ด้วยการทำโดยลำดับ ด้วยความปฏิบัติโดยลำดับ
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็การตั้งอยู่ในอรหัตผลย่อมมีได้. ด้วยการศึกษาโดยลำดับ ด้วย
การทำโดยลำดับ ด้วยความปฏิบัติโดยลำดับอย่างไร
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย
กุลบุตรในธรรมวินัยนี้
เกิดศรัทธาแล้วย่อมเข้าไปใกล้
เมื่อเข้าไปใกล้ย่อมนั่งใกล้
เมื่อนั่งใกล้ย่อมเงี่ยโสตลง
เมื่อเงี่ยโสตลงแล้วย่อมฟังธรรม
ครั้นฟังธรรมย่อมทรงธรรมไว้
ย่อมพิจารณาเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงไว้แล้ว
เมื่อพิจารณาเนื้อความอยู่
ธรรมทั้งหลายย่อมทนได้ซึ่งความพินิจ
เมื่อธรรมทนความพินิจได้อยู่ ฉันทะย่อมเกิด
เมื่อเกิดฉันทะแล้วย่อมอุตสาหะ
ครั้นอุตสาหะแล้วย่อมไตร่ตรอง
ครั้นไตร่ตรองแล้ว ย่อมตั้งความเพียร
เมื่อมีตนส่งไป ย่อมทำให้แจ้งชัดซึ่ง
บรมสัจจะ
ด้วย
กาย
และย่อมแทงตลอดเห็นแจ้ง
บรมสัจจะ
นั้น
ด้วย
ปัญญา
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ศรัทธาก็ดี การเข้าไปใกล้ก็ดี การนั่งใกล้ก็ดี การเงี่ยโสตลงก็ดี การฟังธรรมก็ดี การทรงจำธรรมก็ดี การพิจารณา
เนื้อความก็ดี ธรรมอันได้ซึ่งความพินิจก็ดี ฉันทะก็ดี อุตสาหะก็ดี การไตร่ตรองก็ดี การตั้งความเพียรก็ดี นั้น ๆ ไม่ได้มีแล้ว
เธอทั้งหลายย่อมเป็นผู้ปฏิบัติพลาด ย่อมเป็นผู้ปฏิบัติผิด
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย โมฆบุรุษเหล่านี้
ได้หลีกไปจากธรรมวินัยนี้ ไกลเพียงไร.
///
ประเด็นการบรรลุธรรม ของสองสูตรนี้เชื่อมโยงสัมพันธ์กันอย่างไร?
แก้ไขข้อความเมื่อ
▼
กำลังโหลดข้อมูล...
▼
แสดงความคิดเห็น
กระทู้ที่คุณอาจสนใจ
ว่าด้วยธาตุทั้งหลาย ๖ ประการ
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ! ธรรมอันเราแสดงแล้วว่า “เหล่านี้ คือธาตุทั้งหลาย ๖ ประการ” ดังนี้ เป็นธรรมอันสมณพราหมณ์ผู้รู้ทั้งหลายข่มขี่ไม่ได้ ทำให้เศร้าหมองไม่ได้ ติเตียนไม่ได้ คัดง้างไม่ได้ ข้
สมาชิกหมายเลข 3459975
ว่าด้วยเรื่องปฏิจจสมุปบาท....
โดยพิสดาร (นัยที่สอง) ภิกษุ ท. ! ทุกขอริยสัจ เป็นอย่างไรเล่า ? แม้ความเกิด ก็เป็นทุกข์,แม้ความแก ก็เป็นทุกข์, แม้ความตาย ก็เป็นทุกข์, แม้โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย ก็เป็นทุกข์, การประสบกั
สมาชิกหมายเลข 3459975
ว่าด้วยเรื่องปฏิจจสมุปบาท....
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ! เพราะอาศัยซึ่งธาตุทั้งหลาย ๖ ประการ การก้าวลงสู่ครรภ์ ย่อมมี; เมื่อการก้าวลงสู่ครรภ์ ยังมีอยู่, นามรูป ย่อมมี; เพราะ มีนามรูปเป็นปัจจัย จึงมีสฬายตนะ; เพราะมีสฬายตนะเป็นปัจจัย จ
สมาชิกหมายเลข 3459975
รู้ทุกข์ สมุทัยจะละ แจ้งนิโรธ มรรคเจริญ
จะตรงกับท่อนนี้ ในพระสูตร ภพทั้งหลายเหล่าหนึ่งเหล่าใด อันเป็นไปในที่หรือในเวลาทั้งปวง๑ เพื่อความมีแห่งประโยชน์โดยประการทั้งปวง; ภพทั้งหลายทั้งหมดนั้น ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา. เม
เวทนา
ลำดับการปฏิบัติเพื่อรู้ตามซึ่งสัจจธรรม
ภิกษุ ทั้งหลาย. ! เราย่อมไม่กล่าวการประสบความ พอใจในอรหัตตผล ด้วยการกระทำอันดับแรกเพียง อันดับเดียว. ภิกษุ ทั้งหลาย. ! ก็แต่ว่า การประสบความพอใจในอรหัตตผล ย่อมมีได้เพราะการศึกษาโดยลำดับ เพราะการกระทำโ
สมาชิกหมายเลข 3208017
สติ ปัญญา ศรัทธา ความเพียร กับ สัมมาสมาธิและอริยมรรคมีองค์ 8
มหาจัตตารีสกสูตร https://84000.org/tipitaka/attha/v.php?B=14&A=3724&Z=3923 ////////////// เคยได้ยินพระสายป่า ท่านเทศน์บ่อยครั้ง และเป็นคล้ายๆสูตรย่อไปเลยทีเดียวว่า เราต้องมี สติ ปัญญา สัทธา ค
สมาชิกหมายเลข 5678358
ลำดับการปฏิบัติเพื่อรู้ตามซึ่งสัจจธรรม
ภิกษุทั้งหลาย ! เราย่อมไม่กล่าวการประสบ ความพอใจในอรหัตตผล ด้วยการกระทำอันดับแรกเพียง อันดับเดียว. ภิกษุทั้งหลาย ! ก็แต่ว่า การประสบความ พอใจในอรหัตตผล ย่อมมีได้เพราะการศึกษาโดย ลำดับ เพราะการกระทำโดย
สมาชิกหมายเลข 3208017
[พระไตรปิฏก] ว่าด้วยธรรมเป็นเหตุละนิวรณ์ ๕
(พระไตรปิฎก ฉบับมหามกุฏฯ(ภาษาไทย) เล่มที่ ๓๒) ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เราไม่เห็นธรรมอื่นสักอย่างหนึ่ง ซึ่งเป็นเหตุไม่เกิดขึ้นแห่ง "กามฉันทะ (ความพอใจในกาม)" ที่ยังไม่เกิดก็ดี เป็นเหตุเสื่อมหายไ
ดอกหญ้าในป่าหนาว
ไม่ว่างอยู่อย่างเดียว คือ อายตนะ คืออะไรครับ
ผมกำหดรู้อาศัยเหตุแห่งปัจจัย จึงกำหนดเห็นสภาพแห่งสุญญตา ย่อมมีปกติคือว่างจากอัตตา ว่างจากสักกายทิฏฐิ มันจะเป็นสุญญตาสภาวะโดยสิ้นเชิงได้อย่างไร เพราะวิญญาณยังดำรงอยู่ด้วยอายตนะเป็นปัจจัย อุปมาเหมือนอา
สมาชิกหมายเลข 7480164
ว่าด้วย ปฏิจจสมุปบาท แห่ง สุวิมุตตจิต(1)
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ! เธอทั้งหลายจงกระทำโยนิโสมนสิการซึ่งจักษุ และจงพิจารณาเห็นความที่จักษุเป็นสิ่งที่ไม่เที่ยง ตามที่เป็นจริง. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ! เธอ !,&n
ซึ่งเป็นเช่นนั้นเอง
อ่านกระทู้อื่นที่พูดคุยเกี่ยวกับ
ศาสนาพุทธ
บนสุด
ล่างสุด
อ่านเฉพาะข้อความเจ้าของกระทู้
หน้า:
หน้า
จาก
แชร์ :
โปรดศึกษาและยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคลก่อนเริ่มใช้งาน
อ่านเพิ่มเติมได้ที่นี่
ยอมรับ
กาย ในที่นี้ หมายถึงอะไร ขยายความว่าอย่างไร
///
[๒๓๘] ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เราย่อมกล่าวการตั้งอยู่ในอรหัตผลด้วยการไปครั้งแรกเท่านั้นหามิได้ แต่การตั้งอยู่ในอรหัตผลนั้น ย่อมมีได้ด้วยการศึกษาโดยลำดับ ด้วยการทำโดยลำดับ ด้วยความปฏิบัติโดยลำดับ
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็การตั้งอยู่ในอรหัตผลย่อมมีได้. ด้วยการศึกษาโดยลำดับ ด้วย
การทำโดยลำดับ ด้วยความปฏิบัติโดยลำดับอย่างไร
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย
กุลบุตรในธรรมวินัยนี้
เกิดศรัทธาแล้วย่อมเข้าไปใกล้
เมื่อเข้าไปใกล้ย่อมนั่งใกล้
เมื่อนั่งใกล้ย่อมเงี่ยโสตลง
เมื่อเงี่ยโสตลงแล้วย่อมฟังธรรม
ครั้นฟังธรรมย่อมทรงธรรมไว้
ย่อมพิจารณาเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงไว้แล้ว
เมื่อพิจารณาเนื้อความอยู่
ธรรมทั้งหลายย่อมทนได้ซึ่งความพินิจ
เมื่อธรรมทนความพินิจได้อยู่ ฉันทะย่อมเกิด
เมื่อเกิดฉันทะแล้วย่อมอุตสาหะ
ครั้นอุตสาหะแล้วย่อมไตร่ตรอง
ครั้นไตร่ตรองแล้ว ย่อมตั้งความเพียร
เมื่อมีตนส่งไป ย่อมทำให้แจ้งชัดซึ่งบรมสัจจะด้วยกาย
และย่อมแทงตลอดเห็นแจ้งบรมสัจจะนั้น
ด้วยปัญญา
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ศรัทธาก็ดี การเข้าไปใกล้ก็ดี การนั่งใกล้ก็ดี การเงี่ยโสตลงก็ดี การฟังธรรมก็ดี การทรงจำธรรมก็ดี การพิจารณา
เนื้อความก็ดี ธรรมอันได้ซึ่งความพินิจก็ดี ฉันทะก็ดี อุตสาหะก็ดี การไตร่ตรองก็ดี การตั้งความเพียรก็ดี นั้น ๆ ไม่ได้มีแล้ว เธอทั้งหลายย่อมเป็นผู้ปฏิบัติพลาด ย่อมเป็นผู้ปฏิบัติผิด ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย โมฆบุรุษเหล่านี้
ได้หลีกไปจากธรรมวินัยนี้ ไกลเพียงไร.
///
ประเด็นการบรรลุธรรม ของสองสูตรนี้เชื่อมโยงสัมพันธ์กันอย่างไร?