สวัสดีค่ะ วันนี้ อยากแชร์เคส กรณีส่งของ Express ไปต่างประเทศ แล้วถูกตีกลับมา จะทำอย่างไรได้บ้าง
ปกติ จขกท. ทำ Ecommerceมา 6-7 ปี พอจะมีความรู้เรื่องส่งออกมาบ้าง ที่ผ่านมา ไม่เคยมีเคส ถูกของตีกลับแล้วเสียภาษี ส่วนใหญ่ ตีกลับ ก็ฟรีมาที่บ้าน หรือไปจ่ายที่ไปรษณีย์บ้าง เป็นบ้างครั้ง ฉะนั้นจึงอยากจะเขีบนอธิบายแบบรวดเร็ว และเป็นข้อมูลให้กับผู้อื่น ที่ประสบปัญหาพบเจอเดียวกัน
เคสนี้ เจอเคสคือ แนบยาแก้แพ้ ไปให้ญาติ 30 เม็ด --- > เคยส่งพวกอาหารเสริมไปญี่ปุ่น ไม่ติดอะไรค่ะ เลยเข้าใจว่าส่งได้
รายละเอียด จะแบ่งเป็น 3 ส่วน คือ
1. เตรียมเอกสาร ก่อนส่ง
2. สินค้าถึงประเทศปลายทาง
3. สินค้าตีกลับมาประเทศไทย
1. เตรียมเอกสาร ก่อนส่ง สำหรับ การส่งแบบ Express Agent
- เตรียมสินค้าให้เรียบร้อย นับสินค้า ให้ครบ ชิ้น ถ่ายรูปก่อนส่งไว้เป็นหลักฐาน กรณีมีหลายชิ้นค่ะ
- การจัดทำ Invoice Declare ของแนบกับ สินค้า
จริง ๆ อยากจะแนะนำให้ผู้ส่งทำเองค่ะ เพราะเอกสารบับนี้ จะมีผลมากกก เมื่อถึงปลายทาง หรือตีกลับค่ะ
กรณีที่จะใช้ผ่านระบบ เหมาะแค่ส่งสินค้าประเภทเดียว ที่ไม่เยอะมากค่ะ
อันนี้ คือหน้าตา Invoice ที่ใช้แนบเอกสารไปค่ะ จขกข. ทำเองผ่านระบบ Excel
(ขออภัยที่รูปไม่ชัดค่ะ ไฟล์ที่ทำอยู่คอมอีกเครื่องหนึ่ง เลยเอารูปที่คุยผ่าน FB แทน)
จะอธิบายทีละส่วน ที่จะต้องระบุค่ะ
- ชื่อผู้ส่ง ระบุ ชื่อ ที่อยู่ เบอร์โทร อีเมล์
- ชื่อผู้รับ ระบุ ชื่อ ที่อยู่ เบอร์โทร อีเมล์ บางประเทศ เช่น นอร์เวย์ บราซิล ต้องใส่ Tax ID เข้าไปด้วย
- Date วันที่ส่ง
- AWB ( Air Way Bill ) : ใส่ Tracking Number
- Invoice No : แล้วแต่จะ Run ขึ้นมาเลยค่ะ
- Freight Type : ส่ง Express จะใช้ DAP ค่ะ ถ้าส่งทางเรือ จะมีอีกหลาย Term ค่ะ
- Net weight นำหนักสินค้าอย่างเดียว
- Gross weight น้ำหนักสินค้า + หีบห่อ (เคสนี้ จขกท. ใส่ซองพลาสติกไปค่ะ )
- Total Package มีกี่แพคยังไงก็ระบุไปค่ะ ของจขกท. แบ่งตามประเภทของที่ใส่เลย
- Description of goods ใส่รายละเอียดสินค้าเลยค่ะ เป็นภาษาอังกฤษ ถ้าสามารถใส่ Adjective ที่ระบุสินค้าให้ชัดเจน หรือรูปให้ชัดเจน ก็ควรจะใส่เลยค่ะ เพื่อที่ปลายทาง เห็นรายละเอียด Invoice ก็สามารถเข้าใจได้ทันที อีกทั้ง รูปที่แปะควรจะตรงกับสินค้าที่ใส่จริงนะค่ะ
เช่น Fabric face Mask , Plastic Bag เป็นต้นค่ะ
และระบุสกุลเงิน เป็น USD เท่านั้น ไม่ว่าจะส่งไปประเทศไหนในโลก เพราะเป็นสกุลเงินสากล
- Freight กรณีส่งเอง ให้ใส่ 0 USD ถ้าขายสินค้า แล้วคิดปลายทาง ก็ควรระบุลงไปค่ะ ตาม Rate ที่เราเสียจริงเท่านั้น
เพราะ ค่า Freight จะถูกนำไปคิดเป็นภาษีที่ประเทศปลายทาง ฉะนั้นควรจะระบุตามจริง เพื่อไม่ให้ปลายทาง โดนใช้ Internatinal Freight คำนวณ
แทน ซึ่งแพงมากกกก
- Insurance ปกติ คิด 1% ของ ราคาสินค้า
- Other Comment อย่างที่บอกไปค่ะ ว่าค่าส่งจะต้องระบุทุกครั้ง แม้ว่าจะส่งให้ญาติ ส่งสินค้ากลับ ส่งตัวอย่างคืน ก็ต้องระบุว่าจ่ายเท่าไร โดยใครค่ะ
ข้างบน จขกท. ระบุไว้ว่า ต้นทางจ่ายแล้ว โดยผู้ส่งเอง
- Country of Origin : ใส่ประเทศต้นทางค่ะ กรณีส่งของที่ผลิต ตีกลับไปซ่อม ก็ใส่ประเทศที่ผลิตสินค้ามาค่ะ
- Total Good Value - มูลค่าสินค้า
- Total Unit / Package มีกี่ไอเทม กี่แพค
- Type of Export : วัสดุสินค้า จะ Declare เป็นอะไร ( เนื่องจากของข้างในมีหลายประเภท เลยระบุของชิ้นใหญ่แทน )
ถ้าเป็นของที่ไม่หลายพิกัด เช็คปลายทางแล้ว มีพิกัดภาษีแน่นอน ให้ระบุ HS Code ด้วยค่ะ
- Reason for Export : เขียนระบุสินค้า : Gift / Personal item / Sample / Replace item / Commercial item
ถ้าไม่อยากให้ปลายทาง โดนภาษีเยอะ ต้องระบุ (No commercial value ) ไปด้วย แต่ต้องพิจารณาขนาดของสินค้า และของที่อยู่ข้างในด้วยค่ะ
- ลงนามผู้ส่งสินค้า พร้อมลายเซ้นต์
2. สินค้าถึงประเทศปลายทาง
หลังจากนั้น ของก็ส่งไปถึงประเทศปลายทางแล้วค่ะ Tracking สินค้าได้ตามข้างล่างค่ะ
ทางผู้รับ ไม่สามารถแจ้งจำนงรับของ หรือเสียภาษีอะไรได้ทั้งสิ้น
หลังจากของไปถึงประเทศปลายทาง และไม่ผ่าน ตม.
ทางตม ก็แจ้งให้ของ ส่งกลับประเทศไทย
ขั้นตอนนี้ ไม่สามารถ ทำอะไรได้ค่ะ เนื่องจาก ยาแก้แพ้ เป็นของที่ไม่สามารถผ่านเข้าราชอาณาจักรได้ ตามกฎ EU
หลังจากนั้นของก็ส่งตีกลับมาประเทศไทยแล้วค่ะ ด้วยเลข Shipment ใหม่
[CR] [CR] รีวิวภาษีที่ต้องจ่ายผ่าน DHL จากกรณีสินค้าถูกตีกลับที่ประเทศปลายทาง
ปกติ จขกท. ทำ Ecommerceมา 6-7 ปี พอจะมีความรู้เรื่องส่งออกมาบ้าง ที่ผ่านมา ไม่เคยมีเคส ถูกของตีกลับแล้วเสียภาษี ส่วนใหญ่ ตีกลับ ก็ฟรีมาที่บ้าน หรือไปจ่ายที่ไปรษณีย์บ้าง เป็นบ้างครั้ง ฉะนั้นจึงอยากจะเขีบนอธิบายแบบรวดเร็ว และเป็นข้อมูลให้กับผู้อื่น ที่ประสบปัญหาพบเจอเดียวกัน
เคสนี้ เจอเคสคือ แนบยาแก้แพ้ ไปให้ญาติ 30 เม็ด --- > เคยส่งพวกอาหารเสริมไปญี่ปุ่น ไม่ติดอะไรค่ะ เลยเข้าใจว่าส่งได้
รายละเอียด จะแบ่งเป็น 3 ส่วน คือ
1. เตรียมเอกสาร ก่อนส่ง
2. สินค้าถึงประเทศปลายทาง
3. สินค้าตีกลับมาประเทศไทย
1. เตรียมเอกสาร ก่อนส่ง สำหรับ การส่งแบบ Express Agent
- เตรียมสินค้าให้เรียบร้อย นับสินค้า ให้ครบ ชิ้น ถ่ายรูปก่อนส่งไว้เป็นหลักฐาน กรณีมีหลายชิ้นค่ะ
- การจัดทำ Invoice Declare ของแนบกับ สินค้า
จริง ๆ อยากจะแนะนำให้ผู้ส่งทำเองค่ะ เพราะเอกสารบับนี้ จะมีผลมากกก เมื่อถึงปลายทาง หรือตีกลับค่ะ
กรณีที่จะใช้ผ่านระบบ เหมาะแค่ส่งสินค้าประเภทเดียว ที่ไม่เยอะมากค่ะ
อันนี้ คือหน้าตา Invoice ที่ใช้แนบเอกสารไปค่ะ จขกข. ทำเองผ่านระบบ Excel
(ขออภัยที่รูปไม่ชัดค่ะ ไฟล์ที่ทำอยู่คอมอีกเครื่องหนึ่ง เลยเอารูปที่คุยผ่าน FB แทน)
จะอธิบายทีละส่วน ที่จะต้องระบุค่ะ
- ชื่อผู้ส่ง ระบุ ชื่อ ที่อยู่ เบอร์โทร อีเมล์
- ชื่อผู้รับ ระบุ ชื่อ ที่อยู่ เบอร์โทร อีเมล์ บางประเทศ เช่น นอร์เวย์ บราซิล ต้องใส่ Tax ID เข้าไปด้วย
- Date วันที่ส่ง
- AWB ( Air Way Bill ) : ใส่ Tracking Number
- Invoice No : แล้วแต่จะ Run ขึ้นมาเลยค่ะ
- Freight Type : ส่ง Express จะใช้ DAP ค่ะ ถ้าส่งทางเรือ จะมีอีกหลาย Term ค่ะ
- Net weight นำหนักสินค้าอย่างเดียว
- Gross weight น้ำหนักสินค้า + หีบห่อ (เคสนี้ จขกท. ใส่ซองพลาสติกไปค่ะ )
- Total Package มีกี่แพคยังไงก็ระบุไปค่ะ ของจขกท. แบ่งตามประเภทของที่ใส่เลย
- Description of goods ใส่รายละเอียดสินค้าเลยค่ะ เป็นภาษาอังกฤษ ถ้าสามารถใส่ Adjective ที่ระบุสินค้าให้ชัดเจน หรือรูปให้ชัดเจน ก็ควรจะใส่เลยค่ะ เพื่อที่ปลายทาง เห็นรายละเอียด Invoice ก็สามารถเข้าใจได้ทันที อีกทั้ง รูปที่แปะควรจะตรงกับสินค้าที่ใส่จริงนะค่ะ
เช่น Fabric face Mask , Plastic Bag เป็นต้นค่ะ
และระบุสกุลเงิน เป็น USD เท่านั้น ไม่ว่าจะส่งไปประเทศไหนในโลก เพราะเป็นสกุลเงินสากล
- Freight กรณีส่งเอง ให้ใส่ 0 USD ถ้าขายสินค้า แล้วคิดปลายทาง ก็ควรระบุลงไปค่ะ ตาม Rate ที่เราเสียจริงเท่านั้น
เพราะ ค่า Freight จะถูกนำไปคิดเป็นภาษีที่ประเทศปลายทาง ฉะนั้นควรจะระบุตามจริง เพื่อไม่ให้ปลายทาง โดนใช้ Internatinal Freight คำนวณ
แทน ซึ่งแพงมากกกก
- Insurance ปกติ คิด 1% ของ ราคาสินค้า
- Other Comment อย่างที่บอกไปค่ะ ว่าค่าส่งจะต้องระบุทุกครั้ง แม้ว่าจะส่งให้ญาติ ส่งสินค้ากลับ ส่งตัวอย่างคืน ก็ต้องระบุว่าจ่ายเท่าไร โดยใครค่ะ
ข้างบน จขกท. ระบุไว้ว่า ต้นทางจ่ายแล้ว โดยผู้ส่งเอง
- Country of Origin : ใส่ประเทศต้นทางค่ะ กรณีส่งของที่ผลิต ตีกลับไปซ่อม ก็ใส่ประเทศที่ผลิตสินค้ามาค่ะ
- Total Good Value - มูลค่าสินค้า
- Total Unit / Package มีกี่ไอเทม กี่แพค
- Type of Export : วัสดุสินค้า จะ Declare เป็นอะไร ( เนื่องจากของข้างในมีหลายประเภท เลยระบุของชิ้นใหญ่แทน )
ถ้าเป็นของที่ไม่หลายพิกัด เช็คปลายทางแล้ว มีพิกัดภาษีแน่นอน ให้ระบุ HS Code ด้วยค่ะ
- Reason for Export : เขียนระบุสินค้า : Gift / Personal item / Sample / Replace item / Commercial item
ถ้าไม่อยากให้ปลายทาง โดนภาษีเยอะ ต้องระบุ (No commercial value ) ไปด้วย แต่ต้องพิจารณาขนาดของสินค้า และของที่อยู่ข้างในด้วยค่ะ
- ลงนามผู้ส่งสินค้า พร้อมลายเซ้นต์
2. สินค้าถึงประเทศปลายทาง
หลังจากนั้น ของก็ส่งไปถึงประเทศปลายทางแล้วค่ะ Tracking สินค้าได้ตามข้างล่างค่ะ
ทางผู้รับ ไม่สามารถแจ้งจำนงรับของ หรือเสียภาษีอะไรได้ทั้งสิ้น
หลังจากของไปถึงประเทศปลายทาง และไม่ผ่าน ตม.
ทางตม ก็แจ้งให้ของ ส่งกลับประเทศไทย
ขั้นตอนนี้ ไม่สามารถ ทำอะไรได้ค่ะ เนื่องจาก ยาแก้แพ้ เป็นของที่ไม่สามารถผ่านเข้าราชอาณาจักรได้ ตามกฎ EU
หลังจากนั้นของก็ส่งตีกลับมาประเทศไทยแล้วค่ะ ด้วยเลข Shipment ใหม่
CR - Consumer Review : กระทู้รีวิวนี้เป็นกระทู้ CR โดยที่เจ้าของกระทู้