รถไฟฟ้าใหม่ มาอีกแล้ว
จะเรียกว่า ยุคนี้ คือ “ยุคทองของการพัฒนาระบบราง” ก็คงไม่ผิด
เพราะการลงทุนในโครงการรถไฟและรถไฟฟ้า ระบบการขนส่งทางราง
ทั้งในกรุงเทพฯ และต่างจังหวัด
ทั้งรถไฟ รถไฟฟ้า และรถไฟฟ้าความเร็วสูง
ล้วนแต่รุดหน้าพรวดพราด ในยุคนี้
1. เมื่อวานนี้ รถไฟฟ้าสายสีทองขบวนแรก เดินทางมาถึงไทยแล้ว
เป็นรถไฟฟ้าสายสีทอง รุ่น Bombardier Innovia APM 300(บอมบาร์ดิเอร์ อินโนเวีย เอพีเอ็ม 300) ขบวนแรกของประเทศไทยมาถึง ท่าเรือแหลมฉบัง จ.ชลบุรี มีพิธีรับมอบเรียบร้อย
2. โครงการรถไฟฟ้าสายสีทอง ในระยะที่ 1 ระยะทาง 1.80 กิโลเมตร มี 3 สถานี คือ สถานีกรุงธนบุรี (GN1) สถานีเจริญนคร (GN2) และสถานีคลองสาน (GN3) ระยะทาง
รองรับการเดินทางของประชาชนในพื้นที่ฝั่งธนบุรี ที่มีการพัฒนาเป็นย่านเศรษฐกิจใหม่
ปัจจุบัน การก่อสร้างงานโยธา คืบหน้า 94.42% งานระบบเดินรถ คืบหน้า 81%
จะเปิดเดินรถได้ภายในเดือนตุลาคม 2563
อัตราค่าโดยสารตามที่ศึกษาไว้ คือ จัดเก็บที่ 15 บาทตลอดสาย
คาดการณ์ปริมาณผู้โดยสาร ในปีแรกที่เปิดให้บริการอยู่ที่ 42,260 เที่ยว/คน/วัน
3. โครงการรถไฟฟ้าสายสีทอง ถือเป็น Feeder (ระบบขนส่งมวลชนขนาดรอง) เลือกใช้รถไฟฟ้า Automated People Mover - APM (ระบบขนส่งมวลชนแบบนำทางอัตโนมัติ) เป็นครั้งแรกในประเทศไทย
ในอนาคตจะเชื่อมต่อโครงการรถไฟฟ้าสายสีแดง ช่วงหัวลำโพง-บางบอน-ราษฎร์บูรณะ และรถไฟฟ้าสายสีม่วง ช่วงเตาปูน-ราษฎร์บูรณะ อีกด้วย
โครงการนี้ไม่มีการใช้งบประมาณจากทางราชการ เป็นความร่วมมือระหว่างรัฐและเอกชน ซึ่งเป็นประโยชน์แก่รัฐมีลักษณะคล้ายกับการดำเนินการระบบขนส่งมวลชนบางเส้นทางในประเทศญี่ปุ่น
4. โครงการรถไฟฟ้าใน กทม.มากมายหลายสาย นับไม่หวาดไม่ไหว
แฟนเพจ Bangkok I Love You ได้สรุปข้อมูลน่าสนใจ “รถไฟฟ้าสายไหน ใครอนุมัติ ???” ระบุว่า
“สรุปให้สั้นๆ ว่ารัฐบาลไหน อนุมัติก่อสร้างรถไฟฟ้าสายไหนบ้าง
#ยุคคุณทักษิณ อนุมัติ 1 สาย คือ สาย Airport Link ระยะทาง 28.5 กม.
#ยุคพลเอกสุรยุทธ์ อนุมัติ 2 สาย คือ สายสีแดงเข้ม (บางซื่อ-รังสิต) สายสีแดงอ่อน (บางซื่อ-ตลิ่งชัน) ระยะทางรวม 41.3 กม.
#ยุคคุณสมัคร อนุมัติ 1 สาย คือ ต่อขยาย สายสีเขียว (แบริ่ง-
สมุทรปราการ) ระยะทาง 13 กม.
#ยุคคุณสมชาย ไม่มีอนุมัติสักเส้นทาง เนื่องจากมีเวลาบริหาร2 เดือน
#ยุคคุณอภิสิทธิ์ อนุมัติ 2 สาย คือ สายสีม่วง (บางใหญ่-บางซื่อ) สายสีน้ำเงินต่อขยาย หัวลำโพง-บางแค และ บางซื่อ-ท่าพระ ระยะทางรวม 46 กม.
#ยุคคุณยิ่งลักษณ์ อนุมัติ 1 สาย คือ สายสีเขียวต่อขยาย หมอชิต - คูคต ระยะทาง 19 กม.
#ยุคลุงตู่ (คสช.+ประยุทธ์) อนุมัติไปทั้งสิ้น 10 สาย ระยะทางรวม 204.9 กม. ได้แก่
1. แดงอ่อน (ตลิ่งชัน - ศาลายา) 14.8 กม.
2. แดงเข้ม (รังสิต - ธรรมศาสตร์) 8.9 กม.
3. สายสีม่วง (เตาปูน-ราษฎร์บูรณะ) 23.6 กม.
4. สายสีทองกรุงธนบุรี- ประชาธิปก 2.7 กม.
5. แดงอ่อน (พญาไท-หัวหมาก) แดงเข้ม (บางซื่อหัวลำโพง รวม 25.9 กม.
6. สีส้ม (ศูนย์วัฒนธรรม-มีนบุรี) 22.5 กม.
7. สีชมพู (แคราย-มีนบุรี) 34.5 กม.
8. สีเหลือง (ลาดพร้าว-สำโรง) 30.4 กม.
9.สายสีส้ม(ตะวันตก) ช่วงบางขุนนนท์-ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย 35.9 กม.
10. สายสีแดง ช่วงตลิ่งชัน-ศิริราช 5.7 กม.
อยู่ระหว่างการพิจารณาอนุมัติ
1. สายสีน้ำตาล (แคราย-มีนบุรี) ระยะทาง 21 กม.
2. สายสีเทา (วัชรพล - ทองหล่อ) ระยะทาง 16.25 กม.
ซึ่งรัฐบาลนี้ก็เดินหน้าต่อจากโครงการเดิมโดยการผลักดันตามความสำคัญ ซึ่งฝ่ายข้าราชการประจำ เป็นผู้ผลักดันโครงการเพื่อเดินหน้ากันอย่างต่อเนื่อง ซึ่งตรงนี้ ผมขอให้เครดิตกับรัฐบาลนี้ ที่เดินหน้าต่อเนื่องอย่างทันที ซึ่งเท่าที่ผมทราบได้แก่
-โครงการรถไฟฟ้า กรุงเทพ 7 สายทาง
-โครงการรถไฟทางคู่ 3 ทิศทาง เหนือ อีสาน และใต้
-โครงการรถไฟความเร็วสูง 2 สายทาง โคราช และ
3 สนามบิน ดอนเมือง-สุวรรณภูมิ-อู่ตะเภา
-โครงการมอเตอร์เวย์ 3 สายทาง กาญจนบุรี โคราช และมาบตาพุด
-โครงการสนามบินใหม่ 1 แห่ง คือ เบตง และขยายสนามบินขอนแก่น กระบี่ นครศรีธรรมราช”
เพราะฉะนั้น บันทึกไว้ว่านี่คือ “ยุคทองของระบบราง” ก็คงไม่ผิดแน่นอน
https://www.naewna.com/politic/columnist/44369
ผลงานการวางระบบรางของรัฐบาลลุงตู่มีมากมาย
คนเห็นกันทั่วบ้านทั่วเมือง
บางคนท่องแต่ว่า...อยู่มา หลายปีไม่เห็นมีอะไร
ระวังรถไฟจะแล่นทับหัวเข้าสักวัน เพราะเดินไปชนมันเอง
ลุงตู่เยี่ยมค่ะ...👍
🍬🍬/มาลาริน/รถไฟฟ้า มาอีกแล้วนะเธอ !! ยุคลุงตู่เป็น“ยุคทองของระบบราง” ก็คงไม่ผิดแน่นอน
จะเรียกว่า ยุคนี้ คือ “ยุคทองของการพัฒนาระบบราง” ก็คงไม่ผิด
เพราะการลงทุนในโครงการรถไฟและรถไฟฟ้า ระบบการขนส่งทางราง
ทั้งในกรุงเทพฯ และต่างจังหวัด
ทั้งรถไฟ รถไฟฟ้า และรถไฟฟ้าความเร็วสูง
ล้วนแต่รุดหน้าพรวดพราด ในยุคนี้
1. เมื่อวานนี้ รถไฟฟ้าสายสีทองขบวนแรก เดินทางมาถึงไทยแล้ว
เป็นรถไฟฟ้าสายสีทอง รุ่น Bombardier Innovia APM 300(บอมบาร์ดิเอร์ อินโนเวีย เอพีเอ็ม 300) ขบวนแรกของประเทศไทยมาถึง ท่าเรือแหลมฉบัง จ.ชลบุรี มีพิธีรับมอบเรียบร้อย
2. โครงการรถไฟฟ้าสายสีทอง ในระยะที่ 1 ระยะทาง 1.80 กิโลเมตร มี 3 สถานี คือ สถานีกรุงธนบุรี (GN1) สถานีเจริญนคร (GN2) และสถานีคลองสาน (GN3) ระยะทาง
รองรับการเดินทางของประชาชนในพื้นที่ฝั่งธนบุรี ที่มีการพัฒนาเป็นย่านเศรษฐกิจใหม่
ปัจจุบัน การก่อสร้างงานโยธา คืบหน้า 94.42% งานระบบเดินรถ คืบหน้า 81%
จะเปิดเดินรถได้ภายในเดือนตุลาคม 2563
อัตราค่าโดยสารตามที่ศึกษาไว้ คือ จัดเก็บที่ 15 บาทตลอดสาย
คาดการณ์ปริมาณผู้โดยสาร ในปีแรกที่เปิดให้บริการอยู่ที่ 42,260 เที่ยว/คน/วัน
3. โครงการรถไฟฟ้าสายสีทอง ถือเป็น Feeder (ระบบขนส่งมวลชนขนาดรอง) เลือกใช้รถไฟฟ้า Automated People Mover - APM (ระบบขนส่งมวลชนแบบนำทางอัตโนมัติ) เป็นครั้งแรกในประเทศไทย
ในอนาคตจะเชื่อมต่อโครงการรถไฟฟ้าสายสีแดง ช่วงหัวลำโพง-บางบอน-ราษฎร์บูรณะ และรถไฟฟ้าสายสีม่วง ช่วงเตาปูน-ราษฎร์บูรณะ อีกด้วย
โครงการนี้ไม่มีการใช้งบประมาณจากทางราชการ เป็นความร่วมมือระหว่างรัฐและเอกชน ซึ่งเป็นประโยชน์แก่รัฐมีลักษณะคล้ายกับการดำเนินการระบบขนส่งมวลชนบางเส้นทางในประเทศญี่ปุ่น
4. โครงการรถไฟฟ้าใน กทม.มากมายหลายสาย นับไม่หวาดไม่ไหว
แฟนเพจ Bangkok I Love You ได้สรุปข้อมูลน่าสนใจ “รถไฟฟ้าสายไหน ใครอนุมัติ ???” ระบุว่า
“สรุปให้สั้นๆ ว่ารัฐบาลไหน อนุมัติก่อสร้างรถไฟฟ้าสายไหนบ้าง
#ยุคคุณทักษิณ อนุมัติ 1 สาย คือ สาย Airport Link ระยะทาง 28.5 กม.
#ยุคพลเอกสุรยุทธ์ อนุมัติ 2 สาย คือ สายสีแดงเข้ม (บางซื่อ-รังสิต) สายสีแดงอ่อน (บางซื่อ-ตลิ่งชัน) ระยะทางรวม 41.3 กม.
#ยุคคุณสมัคร อนุมัติ 1 สาย คือ ต่อขยาย สายสีเขียว (แบริ่ง-
สมุทรปราการ) ระยะทาง 13 กม.
#ยุคคุณสมชาย ไม่มีอนุมัติสักเส้นทาง เนื่องจากมีเวลาบริหาร2 เดือน
#ยุคคุณอภิสิทธิ์ อนุมัติ 2 สาย คือ สายสีม่วง (บางใหญ่-บางซื่อ) สายสีน้ำเงินต่อขยาย หัวลำโพง-บางแค และ บางซื่อ-ท่าพระ ระยะทางรวม 46 กม.
#ยุคคุณยิ่งลักษณ์ อนุมัติ 1 สาย คือ สายสีเขียวต่อขยาย หมอชิต - คูคต ระยะทาง 19 กม.
#ยุคลุงตู่ (คสช.+ประยุทธ์) อนุมัติไปทั้งสิ้น 10 สาย ระยะทางรวม 204.9 กม. ได้แก่
1. แดงอ่อน (ตลิ่งชัน - ศาลายา) 14.8 กม.
2. แดงเข้ม (รังสิต - ธรรมศาสตร์) 8.9 กม.
3. สายสีม่วง (เตาปูน-ราษฎร์บูรณะ) 23.6 กม.
4. สายสีทองกรุงธนบุรี- ประชาธิปก 2.7 กม.
5. แดงอ่อน (พญาไท-หัวหมาก) แดงเข้ม (บางซื่อหัวลำโพง รวม 25.9 กม.
6. สีส้ม (ศูนย์วัฒนธรรม-มีนบุรี) 22.5 กม.
7. สีชมพู (แคราย-มีนบุรี) 34.5 กม.
8. สีเหลือง (ลาดพร้าว-สำโรง) 30.4 กม.
9.สายสีส้ม(ตะวันตก) ช่วงบางขุนนนท์-ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย 35.9 กม.
10. สายสีแดง ช่วงตลิ่งชัน-ศิริราช 5.7 กม.
อยู่ระหว่างการพิจารณาอนุมัติ
1. สายสีน้ำตาล (แคราย-มีนบุรี) ระยะทาง 21 กม.
2. สายสีเทา (วัชรพล - ทองหล่อ) ระยะทาง 16.25 กม.
ซึ่งรัฐบาลนี้ก็เดินหน้าต่อจากโครงการเดิมโดยการผลักดันตามความสำคัญ ซึ่งฝ่ายข้าราชการประจำ เป็นผู้ผลักดันโครงการเพื่อเดินหน้ากันอย่างต่อเนื่อง ซึ่งตรงนี้ ผมขอให้เครดิตกับรัฐบาลนี้ ที่เดินหน้าต่อเนื่องอย่างทันที ซึ่งเท่าที่ผมทราบได้แก่
-โครงการรถไฟฟ้า กรุงเทพ 7 สายทาง
-โครงการรถไฟทางคู่ 3 ทิศทาง เหนือ อีสาน และใต้
-โครงการรถไฟความเร็วสูง 2 สายทาง โคราช และ
3 สนามบิน ดอนเมือง-สุวรรณภูมิ-อู่ตะเภา
-โครงการมอเตอร์เวย์ 3 สายทาง กาญจนบุรี โคราช และมาบตาพุด
-โครงการสนามบินใหม่ 1 แห่ง คือ เบตง และขยายสนามบินขอนแก่น กระบี่ นครศรีธรรมราช”
เพราะฉะนั้น บันทึกไว้ว่านี่คือ “ยุคทองของระบบราง” ก็คงไม่ผิดแน่นอน
https://www.naewna.com/politic/columnist/44369
ผลงานการวางระบบรางของรัฐบาลลุงตู่มีมากมาย
คนเห็นกันทั่วบ้านทั่วเมือง
บางคนท่องแต่ว่า...อยู่มา หลายปีไม่เห็นมีอะไร
ระวังรถไฟจะแล่นทับหัวเข้าสักวัน เพราะเดินไปชนมันเอง
ลุงตู่เยี่ยมค่ะ...👍