“infancy and childhood are not lost,but, like a child’s footprints in wet cement, lifelong -
ช่วงชีวิตวัยเด็กไม่เคยสูญหาย แต่เหมือนเป็นรอยเท้าที่เหยียบลงบนปูนซีเมนต์เปียก ซึ่งแปลว่ามันถูกประทับไปตลอดชีวิต”
ประโยคจากหนังสือ Childhood Disrupted
.
.
.
ผู้ใหญ่ทุกคนล้วนเคยเป็นเด็กมาก่อน ประสบการณ์ในวัยเด็กเป็นส่วนหนึ่งที่ทำให้กลายมาเป็นผู้ใหญ่แบบที่เราเป็นทุกวันนี้ ในชีวิตที่ผ่านมาเราเจอเรื่องราวมากมาย หลายอย่างก็สอนให้เรารู้จักรับมือกับเหตุการณ์ต่างๆ และเข้มแข็งขึ้น
มีการศึกษาเกี่ยวกับประสบการณ์เลวร้ายในวัยเด็ก (Adverse childhood experiences) หรือ ACE Study การศึกษานี้แสดงให้เห็นความเชื่อมโยงระหว่างประสบการณ์เลวร้ายประเภทต่างๆ ในวัยเด็ก กับโรคที่เกิดขึ้นทางกายและจิตใจในวัยผู้ใหญ่
บาดแผลทางใจก่อขึ้นด้วยรูปแบบของคำพูดที่ทำให้รู้สึกต่ำต้อยและอับอาย หรือการถูกทอดทิ้งทางกายและทางความรู้สึก และอาจจะถูกลวนลามทางเพศ รวมถึงการใช้ชีวิตร่วมกับพ่อแม่ที่เป็นโรคซึมเศร้า พ่อแม่ที่มีโรคทางจิต หรือพ่อแม่ที่ติดสุราหรือติดสารเสพติด และการเห็นแม่ของตนถูกรังแกต่อหน้าต่อตา หรือการสูญเสียพ่อแม่คนใดคนหนึ่งไปเพราะการหย่าร้างหรือแยกทางกัน เป็นต้น บางคนอาจจะไม่รู้ตัว แต่รู้หรือไม่!? บาดแผลในวัยเด็กเหล่านี้ต่างมีอิทธิพลต่อบุคลิกภาพ นิสัย และอาจก่อให้เกิดเป็นความเจ็บป่วยในระยะยาวได้!
(อ้างอิง:
https://thepotential.org/2019/01/09/childhood-disrupted/)
เพราะ อดีต ปัจจุบัน และ อนาคต ต่างเชื่อมโยงถึงกัน เช่นเดียวกับตัวละครในเรื่อง Mother เรียกฉันว่า...แม่ ที่แต่ละคนก็มีปมในชีวิตที่ติดมาตั้งแต่เด็กเช่นกัน ไม่ว่าจะเป็น ทิชาที่โดนพ่อแม่แท้ๆ ทิ้ง, ของขวัญที่โดนพ่อแม่ทำร้ายร่างกาย, เมย์ที่แม่ลำเอียงไม่เคยให้ความรัก
ติดตามเรื่อง
Mother เรียกฉันว่า...แม่ ได้บน
LINE TV เท่านั้น ตอนใหม่ทุกวันพฤหัสบดี เวลา 20:00 น. >>
https://lin.ee/gNfy9qi/qmnd/LTV/PT
ดูตั้งแต่ตอนแรกได้ที่นี่ คลิกเลย! >>
https://lin.ee/mhJn05z/qmnd/LTV/PT
แล้วเพื่อนๆ ล่ะคะ เคยมี ‘แผลใจวัยเด็ก’ อันไหน ที่นานเท่าไหร่ก็ไม่เคยลืมลงกันบ้าง
‘แผลใจวัยเด็ก’ ไหน ที่ไม่เคยลืม?
ช่วงชีวิตวัยเด็กไม่เคยสูญหาย แต่เหมือนเป็นรอยเท้าที่เหยียบลงบนปูนซีเมนต์เปียก ซึ่งแปลว่ามันถูกประทับไปตลอดชีวิต”
ประโยคจากหนังสือ Childhood Disrupted
.
.
.
ผู้ใหญ่ทุกคนล้วนเคยเป็นเด็กมาก่อน ประสบการณ์ในวัยเด็กเป็นส่วนหนึ่งที่ทำให้กลายมาเป็นผู้ใหญ่แบบที่เราเป็นทุกวันนี้ ในชีวิตที่ผ่านมาเราเจอเรื่องราวมากมาย หลายอย่างก็สอนให้เรารู้จักรับมือกับเหตุการณ์ต่างๆ และเข้มแข็งขึ้น
มีการศึกษาเกี่ยวกับประสบการณ์เลวร้ายในวัยเด็ก (Adverse childhood experiences) หรือ ACE Study การศึกษานี้แสดงให้เห็นความเชื่อมโยงระหว่างประสบการณ์เลวร้ายประเภทต่างๆ ในวัยเด็ก กับโรคที่เกิดขึ้นทางกายและจิตใจในวัยผู้ใหญ่
บาดแผลทางใจก่อขึ้นด้วยรูปแบบของคำพูดที่ทำให้รู้สึกต่ำต้อยและอับอาย หรือการถูกทอดทิ้งทางกายและทางความรู้สึก และอาจจะถูกลวนลามทางเพศ รวมถึงการใช้ชีวิตร่วมกับพ่อแม่ที่เป็นโรคซึมเศร้า พ่อแม่ที่มีโรคทางจิต หรือพ่อแม่ที่ติดสุราหรือติดสารเสพติด และการเห็นแม่ของตนถูกรังแกต่อหน้าต่อตา หรือการสูญเสียพ่อแม่คนใดคนหนึ่งไปเพราะการหย่าร้างหรือแยกทางกัน เป็นต้น บางคนอาจจะไม่รู้ตัว แต่รู้หรือไม่!? บาดแผลในวัยเด็กเหล่านี้ต่างมีอิทธิพลต่อบุคลิกภาพ นิสัย และอาจก่อให้เกิดเป็นความเจ็บป่วยในระยะยาวได้!
(อ้างอิง: https://thepotential.org/2019/01/09/childhood-disrupted/)
เพราะ อดีต ปัจจุบัน และ อนาคต ต่างเชื่อมโยงถึงกัน เช่นเดียวกับตัวละครในเรื่อง Mother เรียกฉันว่า...แม่ ที่แต่ละคนก็มีปมในชีวิตที่ติดมาตั้งแต่เด็กเช่นกัน ไม่ว่าจะเป็น ทิชาที่โดนพ่อแม่แท้ๆ ทิ้ง, ของขวัญที่โดนพ่อแม่ทำร้ายร่างกาย, เมย์ที่แม่ลำเอียงไม่เคยให้ความรัก
ติดตามเรื่อง Mother เรียกฉันว่า...แม่ ได้บน LINE TV เท่านั้น ตอนใหม่ทุกวันพฤหัสบดี เวลา 20:00 น. >> https://lin.ee/gNfy9qi/qmnd/LTV/PT
ดูตั้งแต่ตอนแรกได้ที่นี่ คลิกเลย! >> https://lin.ee/mhJn05z/qmnd/LTV/PT
แล้วเพื่อนๆ ล่ะคะ เคยมี ‘แผลใจวัยเด็ก’ อันไหน ที่นานเท่าไหร่ก็ไม่เคยลืมลงกันบ้าง