ทำไมแก๊สเฉื่อย สามารถเรืองแสงได้

วันนี้อ่านเรื่องแบบจำลองอะตอม สงสัยทำไมหลอดรังสีแคโทด ต้องบรรจุแก๊สเฉื่อย ค้นในเน็ตพบว่าเพราะเกิดการเรืองแสงเมื่ออิเล็กตรอน ของโลหะฝั่งแคโทดมาชน แต่สงสัย
1.เปลี่ยนแก๊สชนิดอื่นได้ไหม เช่น O2,N2
2. แล้วทำไมแก๊สเฉื่อยเรืองแสง
3. แสงที่ได้ คือแสงเดียวกันกับ สเปกตรัมของมันหรือเปล่า
4. สเปกตรัมของอโลหะ อยู่ในย่านความยาวคลื่นที่ตามองไม่เห็นใช่หรือไม่ แล้วทำไมแก๊สเฉื่อย ถึงเรืองแสงในหลอดรังสีและเราสังเกตุเห็นแสง
5. สเปกตรัมของไฮโดรเจน ทำไมมีแค่ 4 เส้น มันตกกลับลงมา 4 ระดับพลังงาน ตลอดเลยใช่หรือไม่ ไม่ว่าจะกระตุ้นพลังงานไปเท่าใด ทำไมมีมากกว่านี้ไม่ได้
.
หรือทั้งหมดที่ว่ามาเราเข้าใจผิด >||< ฝากเพืาอนๆช่วยอธิบายด้วยคะ
แสดงความคิดเห็น
โปรดศึกษาและยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคลก่อนเริ่มใช้งาน อ่านเพิ่มเติมได้ที่นี่