เมื่อวันที่ 22 เมษายน 2563 เว็บไซต์ นสพ.The Guardian ของอังกฤษ เสนอข่าว “Facebook bans some anti-lockdown protest pages” ระบุว่า เฟซบุ๊ก (Facebook) หนึ่งในสื่อสังคมออนไลน์ ลบโพสต์ที่มีเนื้อหาเชิญชวนให้ชาวอเมริกันออกมาประท้วงมาตรการล็อกดาวน์ (Lockdown) ที่ผู้ว่าการรัฐหลายรัฐในสหรัฐอเมริกา สั่งปิดกิจการต่างๆ ให้ประชาชนอยู่แต่ในบ้านเพื่อสกัดการระบาดของไวรัสโควิด-19
คำชี้แจงของเฟซบุ๊ก ระบุว่า กิจกรรมต่างๆ ที่มีการประชาสัมพันธ์ผ่านเฟซบุ๊กจะต้องทำให้แน่ใจว่า ผู้เข้าร่วมจะปฏิบัติตามหลักการเว้นระยะห่างทางสังคม (Social Distancing) และหากรัฐไม่อนุญาตให้จัดกิจกรรมในช่วงนี้ก็ให้มาจัดกันบนเฟซบุ๊กแทน ด้วยเหตุผลเดียวกันนี้ การจัดกิจกรรมที่ต่อต้านคำแนะนำการเว้นระยะห่างทางสังคม จึงไม่ได้รับอนุญาตให้ใช้พื้นที่ของเฟซบุ๊ก
รายงานข่าวกล่าวต่อไปว่า ท่าทีครั้งนี้ของเฟซบุ๊กดูกระตือรือร้นต่างจากที่เคยเป็นมาก่อน แต่ก็ยังมีคำถามถึงวิธีการ โดยสำนักข่าว CNN สหรัฐฯ รายงานว่า เฟซบุ๊กได้ลบโพสต์เกี่ยวกับการชุมนุมต่อต้านมาตรการล็อกดาวน์ในรัฐแคลิฟอร์เนีย นิวเจอร์ซีย์ และเนบราสกา ตามคำสั่งของผู้บริหาร 3 รัฐดังกล่าว อย่างไรก็ตาม เฟซบุ๊กชี้แจงว่า การหารือกับทางการของรัฐเหล่านั้นเป็นเพียงการทำความเข้าใจขอบเขตมาตรการอยู่บ้านหยุดเชื้อเท่านั้น ไม่เกี่ยวกับการมีคำขอให้ลบโพสต์ต่อต้านแต่อย่างใด
เวรา เอเดลแมน (Vera Eidelman) ทีมทนายความขององค์กร American Civil Liberties Union (ACLU) เจ้าภาพใหญ่ที่จัดการประท้วงต้านมาตรการล็อกดาวน์ เปิดเผยว่า เฟซบุ๊กให้เหตุผลที่ลบโพสต์ เนื่องจากการชุมนุมของคนจำนวนมากอย่างเพิกเฉยต่อหลักการเว้นระยะห่างทางสังคม อาจก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพทั้งจากตัวผู้เข้าร่วมชุมนุมเองและต่อชุมชน
ซึ่งตนแย้งว่า คำพูดหลักทางการเมืองคือ การตอบสนองของรัฐต่อการระบาดของโรค จากมาตรการช่วยเหลือไปจนถึงการให้ประชาชนอยู่บ้าน เฟซบุ๊กที่ควบคุมคำพูดนับพันล้านไม่ควรเซ็นเซอร์คำพูดทางการเมือง นี่เป็นความจริงโดยเฉพาะตอนนี้เมื่อมีคำถามเรื่องเวลาและวิธีการกลับมาเปิดประเทศอีกครั้ง ท่ามกลางคำถามกลางทางการเมืองและพื้นที่ออนไลน์เป็นช่องทางหลักในการแสดงออก
รายงานข่าวยังกล่าวอีกว่า ท่าทีของเฟซบุ๊กกลายเป็นคำถามว่า ได้ตัดสินใจด้วยตนเองหรือตามคำสั่งของภาครัฐ อาทิ เจนนิเฟอร์ โบรดี (Jennifer Brody) ตัวแทนจากองค์กร Access Now ที่เคลื่อนไหวด้านสิทธิทางดิจิทัล ให้ความเห็นว่า ควรมีความโปร่งใสในการขอให้ลบโพสต์ออก ผู้บริหารรัฐปกปิดที่เฟซบุ๊กไม่สอดคล้องกับบรรทัดฐานด้านสิทธิมนุษยชน
เช่นเดียวกับ เดวิด เคย์ (David Kaye) ผู้รายงานพิเศษด้านเสรีภาพในการแสดงออกขององค์การสหประชาชาติ (UN) ตั้งคำถามว่า เหมาะสมหรือไม่ที่เฟซบุ๊กจะดำเนินการอย่างเจาะจงกับโพสต์ที่เกี่ยวข้องกับการประท้วงแทนที่จะให้หน่วยงานของรัฐเป็นผู้ร้องขอ การประท้วงไม่ว่า ถูกหรือผิดกฎหมายเป็นอำนาจหน้าที่ของภาครัฐ หากผู้คนรวมตัวประท้วงและฝ่ายสาธารณสุขส่วนใหญ่เห็นว่า มันอันตรายจริงๆ ก็เป็นหน้าที่ของรัฐที่ต้องห้ามปราม สำหรับเฟซบุ๊กเป็นเพียงการตั้งข้อสงสัยเท่านั้น
ทั้งนี้โดยทั่วไปแล้วหากรัฐจะขอให้ลบเนื้อหาบนเฟซบุ๊กหรือสื่อออนไลน์อื่นๆ จะเป็นการพิจารณาในศาล แต่หากเฟซบุ๊กตัดสินใจลบเองจะได้รับความคุ้มครองตามมาตรา 230 แห่งกฎหมายการสื่อสารที่เหมาะสม (Communications Decency Act) ซึ่งรัฐบาลกลางอนุญาตให้ผู้ให้บริการสื่อออนไลน์กำหนดกฎระเบียบว่าด้วยเนื้อหาที่อนุญาตให้เผยแพร่ในพื้นที่ของตนเอง
เคย์ ยังกล่าวด้วยว่า หากเป็นวิถีทางในระบอบประชาธิปไตย รัฐบาลต้องใช้อำนาจตามกฎหมายเพื่อสั่งเฟซบุ๊กให้ลบเนื้อหา นี่คือความแตกต่างระหว่างการกำกับดูแลที่รับผิดชอบโดยบริษัทที่ไม่สามารถตรวจสอบได้ กับการตัดสินใจของภาครัฐที่ต้องตั้งอยู่ในกรอบของกฎหมาย รัฐอยู่ภายใต้ข้อจำกัดทางกฎหมายและมาตรการเยียวยา แต่เฟซบุ๊กไม่ใช่แบบนั้น
https://www.naewna.com/inter/488079
https://www.theguardian.com/technology/2020/apr/20/facebook-anti-lockdown-protests-bans
เฟซบุ๊กเปิดเผยว่า ได้ดำเนินการแบนผู้ใช้งานที่ใช้เฟซบุ๊ก เป็นช่องทางในการจัดชุมนุมประท้วง ต่อต้านมาตรการรักษาระยะห่างทางสังคมของทางการ การเคลื่อนไหวที่เกิดขึ้นในช่วงเวลาที่ชาวอเมริกันในรัฐต่างๆ จำนวนมากขึ้น พากันออกมา ประท้วงต้านคำสั่งทางการ ที่ให้อยู่แต่ภายในที่พัก และยังเป็นการกระทำที่ทำให้เกิดเสียงวิจารณ์จากฝ่ายสนับสนุนการประท้วงด้วย
ยักษ์ใหญ่โซเชียลมีเดียรายนี้ ระบุว่า กำหนดให้เพจที่ชวนผู้คนประท้วงนั้น ต้องให้รายละเอียดอย่างชัดเจนว่า ผู้ที่เข้าร่วมการประท้วงจะต้องปฏิบัติตามมาตรการรักษาระยะห่างทางสังคม และเฟซบุ๊กจะลบข้อเรียกร้องบางอย่างทิ้งไป
“รัฐบาลห้ามจัดชุมนุมในช่วงเวลานี้ แต่เราก็เปิดทางให้มีการจัดขึ้นบนเฟซบุ๊ก ซึ่งด้วยเหตุผลเดียวกันนี้ การจัดงานต่างๆ ที่ฝ่าฝืนคำแนะนำของรัฐบาล ในเรื่องรักษาระยะห่างทางสังคม ก็ไม่ได้รับอนุญาตให้อยู่บนเฟซบุ๊ก”
ซีเอ็นเอ็นรายงานว่า เฟซบุ๊กได้ลบหน้าการจัดอีเวนท์ ประท้วงการกักตัวในแคลิฟอร์เนีย นิวเจอร์ซีย์ และเนบราสกา โดยให้เหตุผลว่า เป็นไปตามคำแนะนำของทางการใน 3 รัฐนี้ แต่ในเวลาต่อมาโฆษกของบริษัทระบุว่า ได้มีการพูดคุยกับเจ้าหน้าที่ทางการ เพื่อทำความเข้าใจถึงกรอบของคำสั่งในการให้อยู่แต่ภายในที่พัก ไม่ใช่เจาะจงเรื่องการลบอีเวนท์ประท้วงออกจากเฟซบุ๊กแต่อย่างใด
อย่างไรก็ดี ท่าทีดังกล่าวของเฟซบุ๊ก ทำให้เกิดเสียงวิจารณ์ตามมา โดยเวรา เอเดลแมน ทนายความขององค์กร American Civil Liberties Union (ACLU) เจ้าภาพใหญ่ที่จัดการประท้วงต้านมาตรการล็อกดาวน์ เปิดเผยว่า แม้การรวมตัวของผู้คนจำนวนมาก ที่เพิกเฉยต่อคำแนะนำให้รักษาระยะห่างทางสังคม อาจทำให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพของผู้ประท้วง และชุมชนของพวกเขา แต้ถ้อยแถลงของทางการในการตอบสนองต่อการระบาด ไล่ตั้งแต่มาตรการบรรเทาทุกข์ ไปจนถึงการออกคำสั่งให้อยู่แต่ภายในที่พักนั้น ล้วนแต่เป็นการปราศรัยทางการเมืองทั้งนั้น
นอกจากนี้ ยังมีการตั้งถามด้วยว่า การเคลื่อนไหวของยักษ์ใหญ่โซเชียลมีเดียรายนี้ เป็นการตัดสินใจด้วยตนเอง หรือตามคำสั่งของภาครัฐ โดย เจนนิเฟอร์ โบรดี ตัวแทนจากองค์กร Access Now ที่เคลื่อนไหวด้านสิทธิทางดิจิทัล ให้ความเห็นว่า ควรมีความโปร่งใสในการขอให้ลบโพสต์ออก ซึ่งการที่ภาครัฐแอบร้องขออย่างไม่เป็นทางการกับเฟซบุ๊กนั้น ไม่สอดคล้องกับบรรทัดฐานด้านสิทธิมนุษยชนอย่างมาก
เช่นเดียวกับ เดวิด เคย์ ผู้แทนพิเศษด้านเสรีภาพในการแสดงออกของสหประชาชาติ (ยูเอ็น) ตั้งคำถามว่า เหมาะสมหรือไม่ที่เฟซบุ๊กจะดำเนินการอย่างเจาะจงกับโพสต์ที่เกี่ยวข้องกับการประท้วง แทนที่จะให้หน่วยงานของรัฐเป็นผู้ร้องขอ โดยการประท้วงไม่ว่าถูก หรือผิดกฎหมายเป็นอำนาจหน้าที่ของภาครัฐ หากผู้คนรวมตัวประท้วงและฝ่ายสาธารณสุขส่วนใหญ่เห็นว่า อันตรายจริงๆ ก็เป็นหน้าที่ของรัฐที่ต้องห้ามปราม แต่เฟซบุ๊กกลับลงมือทำเลย ทั้งที่ยังเป็นแค่การตั้งข้อสงสัยเท่านั้น
โดยทั่วไปแล้วหากรัฐจะขอให้ลบเนื้อหาบนเฟซบุ๊กหรือสื่อออนไลน์อื่นๆ จะเป็นการพิจารณาในศาล แต่หากเฟซบุ๊กตัดสินใจลบเองจะได้รับความคุ้มครองตามมาตรา 230 แห่งกฎหมายการสื่อสารที่เหมาะสม (Communications Decency Act) ซึ่งรัฐบาลกลางอนุญาตให้ผู้ให้บริการสื่อออนไลน์กำหนดกฎระเบียบว่าด้วยเนื้อหาที่อนุญาตให้เผยแพร่ในพื้นที่ของตนเอง
เคย์ ยังกล่าวด้วยว่า หากเป็นวิถีทางในระบอบประชาธิปไตย รัฐบาลต้องใช้อำนาจตามกฎหมายเพื่อสั่งเฟซบุ๊กให้ลบเนื้อหา นี่คือความแตกต่างระหว่างการกำกับดูแลที่รับผิดชอบโดยบริษัทที่ไม่สามารถตรวจสอบได้ กับการตัดสินใจของภาครัฐที่ต้องตั้งอยู่ในกรอบของกฎหมาย รัฐอยู่ภายใต้ข้อจำกัดทางกฎหมายและมาตรการเยียวยา แต่เฟซบุ๊กไม่ใช่แบบนั้น
https://www.thebangkokinsight.com/340280/
โซเชียลมะกันเดือด!จวก‘เฟซบุ๊ก’ทำเกินเหตุ แบนโพสต์ต้าน‘ล็อกดาวน์’
เมื่อวันที่ 22 เมษายน 2563 เว็บไซต์ นสพ.The Guardian ของอังกฤษ เสนอข่าว “Facebook bans some anti-lockdown protest pages” ระบุว่า เฟซบุ๊ก (Facebook) หนึ่งในสื่อสังคมออนไลน์ ลบโพสต์ที่มีเนื้อหาเชิญชวนให้ชาวอเมริกันออกมาประท้วงมาตรการล็อกดาวน์ (Lockdown) ที่ผู้ว่าการรัฐหลายรัฐในสหรัฐอเมริกา สั่งปิดกิจการต่างๆ ให้ประชาชนอยู่แต่ในบ้านเพื่อสกัดการระบาดของไวรัสโควิด-19
คำชี้แจงของเฟซบุ๊ก ระบุว่า กิจกรรมต่างๆ ที่มีการประชาสัมพันธ์ผ่านเฟซบุ๊กจะต้องทำให้แน่ใจว่า ผู้เข้าร่วมจะปฏิบัติตามหลักการเว้นระยะห่างทางสังคม (Social Distancing) และหากรัฐไม่อนุญาตให้จัดกิจกรรมในช่วงนี้ก็ให้มาจัดกันบนเฟซบุ๊กแทน ด้วยเหตุผลเดียวกันนี้ การจัดกิจกรรมที่ต่อต้านคำแนะนำการเว้นระยะห่างทางสังคม จึงไม่ได้รับอนุญาตให้ใช้พื้นที่ของเฟซบุ๊ก
รายงานข่าวกล่าวต่อไปว่า ท่าทีครั้งนี้ของเฟซบุ๊กดูกระตือรือร้นต่างจากที่เคยเป็นมาก่อน แต่ก็ยังมีคำถามถึงวิธีการ โดยสำนักข่าว CNN สหรัฐฯ รายงานว่า เฟซบุ๊กได้ลบโพสต์เกี่ยวกับการชุมนุมต่อต้านมาตรการล็อกดาวน์ในรัฐแคลิฟอร์เนีย นิวเจอร์ซีย์ และเนบราสกา ตามคำสั่งของผู้บริหาร 3 รัฐดังกล่าว อย่างไรก็ตาม เฟซบุ๊กชี้แจงว่า การหารือกับทางการของรัฐเหล่านั้นเป็นเพียงการทำความเข้าใจขอบเขตมาตรการอยู่บ้านหยุดเชื้อเท่านั้น ไม่เกี่ยวกับการมีคำขอให้ลบโพสต์ต่อต้านแต่อย่างใด
เวรา เอเดลแมน (Vera Eidelman) ทีมทนายความขององค์กร American Civil Liberties Union (ACLU) เจ้าภาพใหญ่ที่จัดการประท้วงต้านมาตรการล็อกดาวน์ เปิดเผยว่า เฟซบุ๊กให้เหตุผลที่ลบโพสต์ เนื่องจากการชุมนุมของคนจำนวนมากอย่างเพิกเฉยต่อหลักการเว้นระยะห่างทางสังคม อาจก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพทั้งจากตัวผู้เข้าร่วมชุมนุมเองและต่อชุมชน
ซึ่งตนแย้งว่า คำพูดหลักทางการเมืองคือ การตอบสนองของรัฐต่อการระบาดของโรค จากมาตรการช่วยเหลือไปจนถึงการให้ประชาชนอยู่บ้าน เฟซบุ๊กที่ควบคุมคำพูดนับพันล้านไม่ควรเซ็นเซอร์คำพูดทางการเมือง นี่เป็นความจริงโดยเฉพาะตอนนี้เมื่อมีคำถามเรื่องเวลาและวิธีการกลับมาเปิดประเทศอีกครั้ง ท่ามกลางคำถามกลางทางการเมืองและพื้นที่ออนไลน์เป็นช่องทางหลักในการแสดงออก
รายงานข่าวยังกล่าวอีกว่า ท่าทีของเฟซบุ๊กกลายเป็นคำถามว่า ได้ตัดสินใจด้วยตนเองหรือตามคำสั่งของภาครัฐ อาทิ เจนนิเฟอร์ โบรดี (Jennifer Brody) ตัวแทนจากองค์กร Access Now ที่เคลื่อนไหวด้านสิทธิทางดิจิทัล ให้ความเห็นว่า ควรมีความโปร่งใสในการขอให้ลบโพสต์ออก ผู้บริหารรัฐปกปิดที่เฟซบุ๊กไม่สอดคล้องกับบรรทัดฐานด้านสิทธิมนุษยชน
เช่นเดียวกับ เดวิด เคย์ (David Kaye) ผู้รายงานพิเศษด้านเสรีภาพในการแสดงออกขององค์การสหประชาชาติ (UN) ตั้งคำถามว่า เหมาะสมหรือไม่ที่เฟซบุ๊กจะดำเนินการอย่างเจาะจงกับโพสต์ที่เกี่ยวข้องกับการประท้วงแทนที่จะให้หน่วยงานของรัฐเป็นผู้ร้องขอ การประท้วงไม่ว่า ถูกหรือผิดกฎหมายเป็นอำนาจหน้าที่ของภาครัฐ หากผู้คนรวมตัวประท้วงและฝ่ายสาธารณสุขส่วนใหญ่เห็นว่า มันอันตรายจริงๆ ก็เป็นหน้าที่ของรัฐที่ต้องห้ามปราม สำหรับเฟซบุ๊กเป็นเพียงการตั้งข้อสงสัยเท่านั้น
ทั้งนี้โดยทั่วไปแล้วหากรัฐจะขอให้ลบเนื้อหาบนเฟซบุ๊กหรือสื่อออนไลน์อื่นๆ จะเป็นการพิจารณาในศาล แต่หากเฟซบุ๊กตัดสินใจลบเองจะได้รับความคุ้มครองตามมาตรา 230 แห่งกฎหมายการสื่อสารที่เหมาะสม (Communications Decency Act) ซึ่งรัฐบาลกลางอนุญาตให้ผู้ให้บริการสื่อออนไลน์กำหนดกฎระเบียบว่าด้วยเนื้อหาที่อนุญาตให้เผยแพร่ในพื้นที่ของตนเอง
เคย์ ยังกล่าวด้วยว่า หากเป็นวิถีทางในระบอบประชาธิปไตย รัฐบาลต้องใช้อำนาจตามกฎหมายเพื่อสั่งเฟซบุ๊กให้ลบเนื้อหา นี่คือความแตกต่างระหว่างการกำกับดูแลที่รับผิดชอบโดยบริษัทที่ไม่สามารถตรวจสอบได้ กับการตัดสินใจของภาครัฐที่ต้องตั้งอยู่ในกรอบของกฎหมาย รัฐอยู่ภายใต้ข้อจำกัดทางกฎหมายและมาตรการเยียวยา แต่เฟซบุ๊กไม่ใช่แบบนั้น
https://www.naewna.com/inter/488079
https://www.theguardian.com/technology/2020/apr/20/facebook-anti-lockdown-protests-bans
เฟซบุ๊กเปิดเผยว่า ได้ดำเนินการแบนผู้ใช้งานที่ใช้เฟซบุ๊ก เป็นช่องทางในการจัดชุมนุมประท้วง ต่อต้านมาตรการรักษาระยะห่างทางสังคมของทางการ การเคลื่อนไหวที่เกิดขึ้นในช่วงเวลาที่ชาวอเมริกันในรัฐต่างๆ จำนวนมากขึ้น พากันออกมา ประท้วงต้านคำสั่งทางการ ที่ให้อยู่แต่ภายในที่พัก และยังเป็นการกระทำที่ทำให้เกิดเสียงวิจารณ์จากฝ่ายสนับสนุนการประท้วงด้วย
ยักษ์ใหญ่โซเชียลมีเดียรายนี้ ระบุว่า กำหนดให้เพจที่ชวนผู้คนประท้วงนั้น ต้องให้รายละเอียดอย่างชัดเจนว่า ผู้ที่เข้าร่วมการประท้วงจะต้องปฏิบัติตามมาตรการรักษาระยะห่างทางสังคม และเฟซบุ๊กจะลบข้อเรียกร้องบางอย่างทิ้งไป
“รัฐบาลห้ามจัดชุมนุมในช่วงเวลานี้ แต่เราก็เปิดทางให้มีการจัดขึ้นบนเฟซบุ๊ก ซึ่งด้วยเหตุผลเดียวกันนี้ การจัดงานต่างๆ ที่ฝ่าฝืนคำแนะนำของรัฐบาล ในเรื่องรักษาระยะห่างทางสังคม ก็ไม่ได้รับอนุญาตให้อยู่บนเฟซบุ๊ก”
ซีเอ็นเอ็นรายงานว่า เฟซบุ๊กได้ลบหน้าการจัดอีเวนท์ ประท้วงการกักตัวในแคลิฟอร์เนีย นิวเจอร์ซีย์ และเนบราสกา โดยให้เหตุผลว่า เป็นไปตามคำแนะนำของทางการใน 3 รัฐนี้ แต่ในเวลาต่อมาโฆษกของบริษัทระบุว่า ได้มีการพูดคุยกับเจ้าหน้าที่ทางการ เพื่อทำความเข้าใจถึงกรอบของคำสั่งในการให้อยู่แต่ภายในที่พัก ไม่ใช่เจาะจงเรื่องการลบอีเวนท์ประท้วงออกจากเฟซบุ๊กแต่อย่างใด
อย่างไรก็ดี ท่าทีดังกล่าวของเฟซบุ๊ก ทำให้เกิดเสียงวิจารณ์ตามมา โดยเวรา เอเดลแมน ทนายความขององค์กร American Civil Liberties Union (ACLU) เจ้าภาพใหญ่ที่จัดการประท้วงต้านมาตรการล็อกดาวน์ เปิดเผยว่า แม้การรวมตัวของผู้คนจำนวนมาก ที่เพิกเฉยต่อคำแนะนำให้รักษาระยะห่างทางสังคม อาจทำให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพของผู้ประท้วง และชุมชนของพวกเขา แต้ถ้อยแถลงของทางการในการตอบสนองต่อการระบาด ไล่ตั้งแต่มาตรการบรรเทาทุกข์ ไปจนถึงการออกคำสั่งให้อยู่แต่ภายในที่พักนั้น ล้วนแต่เป็นการปราศรัยทางการเมืองทั้งนั้น
นอกจากนี้ ยังมีการตั้งถามด้วยว่า การเคลื่อนไหวของยักษ์ใหญ่โซเชียลมีเดียรายนี้ เป็นการตัดสินใจด้วยตนเอง หรือตามคำสั่งของภาครัฐ โดย เจนนิเฟอร์ โบรดี ตัวแทนจากองค์กร Access Now ที่เคลื่อนไหวด้านสิทธิทางดิจิทัล ให้ความเห็นว่า ควรมีความโปร่งใสในการขอให้ลบโพสต์ออก ซึ่งการที่ภาครัฐแอบร้องขออย่างไม่เป็นทางการกับเฟซบุ๊กนั้น ไม่สอดคล้องกับบรรทัดฐานด้านสิทธิมนุษยชนอย่างมาก
เช่นเดียวกับ เดวิด เคย์ ผู้แทนพิเศษด้านเสรีภาพในการแสดงออกของสหประชาชาติ (ยูเอ็น) ตั้งคำถามว่า เหมาะสมหรือไม่ที่เฟซบุ๊กจะดำเนินการอย่างเจาะจงกับโพสต์ที่เกี่ยวข้องกับการประท้วง แทนที่จะให้หน่วยงานของรัฐเป็นผู้ร้องขอ โดยการประท้วงไม่ว่าถูก หรือผิดกฎหมายเป็นอำนาจหน้าที่ของภาครัฐ หากผู้คนรวมตัวประท้วงและฝ่ายสาธารณสุขส่วนใหญ่เห็นว่า อันตรายจริงๆ ก็เป็นหน้าที่ของรัฐที่ต้องห้ามปราม แต่เฟซบุ๊กกลับลงมือทำเลย ทั้งที่ยังเป็นแค่การตั้งข้อสงสัยเท่านั้น
โดยทั่วไปแล้วหากรัฐจะขอให้ลบเนื้อหาบนเฟซบุ๊กหรือสื่อออนไลน์อื่นๆ จะเป็นการพิจารณาในศาล แต่หากเฟซบุ๊กตัดสินใจลบเองจะได้รับความคุ้มครองตามมาตรา 230 แห่งกฎหมายการสื่อสารที่เหมาะสม (Communications Decency Act) ซึ่งรัฐบาลกลางอนุญาตให้ผู้ให้บริการสื่อออนไลน์กำหนดกฎระเบียบว่าด้วยเนื้อหาที่อนุญาตให้เผยแพร่ในพื้นที่ของตนเอง
เคย์ ยังกล่าวด้วยว่า หากเป็นวิถีทางในระบอบประชาธิปไตย รัฐบาลต้องใช้อำนาจตามกฎหมายเพื่อสั่งเฟซบุ๊กให้ลบเนื้อหา นี่คือความแตกต่างระหว่างการกำกับดูแลที่รับผิดชอบโดยบริษัทที่ไม่สามารถตรวจสอบได้ กับการตัดสินใจของภาครัฐที่ต้องตั้งอยู่ในกรอบของกฎหมาย รัฐอยู่ภายใต้ข้อจำกัดทางกฎหมายและมาตรการเยียวยา แต่เฟซบุ๊กไม่ใช่แบบนั้น
https://www.thebangkokinsight.com/340280/