สมัยสงครามโลกครั้งที่ 2
1. ข้อใดเกิดขึ้นพร้อม ๆ กับเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่ 2
1) การต่อต้านภัยคอมมิวนิสต์
2) การประกาศนโยบายรัฐนิยม
3) การเข้าเป็นสมาชิกสหประชาชาติ
4) การขึ้นครองราชย์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9
2. ข้อใดไม่เกี่ยวกับการต่อต้านคนจีนในสมัยจอมพลป. พิบูลสงคราม
1) การควบคุมและปิดโรงเรียนจีน 2) การส่งเสริมให้ใช้สินค้าของไทย
3) การสงวนอาชีพสำหรับคนไทย 4) การเรียกร้องดินแดนลาวและเขมรคืน
3. ข้อใดไม่ใช่นโยบายของจอมพล ป. พิบูลสงครามในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2
1) การทำสงครามอินโดจีน 2) การเข้าร่วมสงครามโลก
3) การประกาศสงครามเป็นฝ่ายอักษะ 4) การจัดตั้งขบวนการเสรีไทย
หลังสงครามโลกครั้งที่ 2
1. นายกรัฐมนตรีภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ท่านใดเป็นที่ยอมรับของประเทศสหรัฐอเมริกามากที่สุด
1) จอมพล ป. พิบูลสงคราม 2) ม. ร. ว. เสนีย์ปราโมช
3) นายทวี บุณยเกต 4) นายควง อภัยวงศ์
2. พรรคการเมืองที่ตั้งมาตั้งแต่ครั้งสมัยหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 และดำเนินการมาถึงปัจจุบันคือข้อใด
1) พรรคชาติไทย 2) พรรคประชาธิปัตย์
3) พรรคราษฎร 4) พรรคไทยรักไทย
3. ในหน้าประวัติศาสตร์การเมืองไทยนายกรัฐมนตรีท่านใดไม่ได้กลับขึ้นมาเป็นนายกรัฐมนตรีซ้ำอีกเป็นครั้งที่สอง
1) นายควง อภัยวงศ์ 2) ม. ร. ว. เสนีย์ ปราโมช
3) ดร. ปรีดี พนมยงค์ 4) นายทวี บุณยเกต
จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์
1. จุดเด่นของการปกครองสมัยจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ คือข้อใด
1) ระบบเผด็จการทหาร 2) ระบบประชาธิปไตย
3) ประชาชนมีส่วนร่วมในการปกครอง 4) รัฐสภามีอำนาจเด็ดขาด
2. ในสมัยเผด็จการ หัวหน้ารัฐบาลชุดใดมีอำนาจมั่นคงตลอดสมัยที่ปกครองมากที่สุด
1) จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ 2) จอมพล ป. พิบูลสงคราม
3) จอมพลถนอม กิตติขจร 4) ดร.ปรีดี พนมยงค์
3. รัฐธรรมนูญฉบับใดมีบทบัญญัติที่ให้อำนาจเด็ดขาดแก่นายกรัฐมนตรี
1) รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2502 และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2511
2) รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2502 และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2519
3) รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2511 และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2519
4) รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2519 และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2521
4. ข้อใดไม่ใช่จุดเด่นด้านการปกครองสมัยจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์
1) ระบบเศรษฐกิจแบบชาตินิยม
2) การใช้แผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติ
3) การปราบปรามผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์
4) การให้อำนาจเด็ดขาดแก่นายกรัฐมนตรี
5. ข้อใดไม่ใช่จุดเด่นด้านการปกครองสมัยจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์
1) การพัฒนาประเทศ
2) การรักษาความสงบเรียบร้อย
3) การกระจายอำนาจให้กลุ่มทหาร
4) การร่วมเป็นพันธมิตรทางการทหารกับสหรัฐอเมริกา
เหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516
1. ข้อใดไม่ใช่สาเหตุที่ประชาชนไม่พอใจการปกครองก่อนเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516
1) รัฐบาลเล่นพรรคเล่นพวก 2) รัฐบาลเผด็จการ
3) รัฐบาลไม่ประชาธิปไตย 4) รัฐบาลควบคุมกองทัพได้อย่างเด็ดขาด
2. ข้อใดไม่ใช่สาเหตุของเหตุการณ์ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516
1) ประชาชนไม่พอใจรัฐบาลเผด็จการ
2) ประชาชนไม่พอใจการปกครองที่มีการฉ้อราษฎร์บังหลวง
3) ประชาชนต้องการเรียกร้องสิทธิ เสรีภาพ และเสมอภาค
4) ประชาชนต้องการให้ปราบปรามผู้ประท้วงด้วยวิธีละมุนละม่อม
3. วิกฤตการณ์ 14 ต.ค. พ.ศ. 2516 ก่อให้เกิดผลด้านการเมืองที่สำคัญหลายประการยกเว้นข้อใด
1) กลุ่มอาชีพต่าง ๆ เคลื่อนไหวเรียกร้องสิทธิประโยชน์และเสรีภาพ
2) มีการเลือกตั้งรัฐบาลประชาธิปไตยตามที่ระบุในรัฐธรมนูญใหม่
3) ทำให้มีการร่างรัฐธรรมนูญฉบับ พ.ศ. 2517
4) ทหารและกองทัพลดบทบาทการเข้ามาเกี่ยวข้องกับการเมืองจนถึงปัจจุบัน
4. ข้อใดไม่ใช่ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516
1) ระบบประชาธิปไตยเบ่งบานในเมืองไทย
2) ประชาชนเสื่อมศรัทธาในทหารและตำรวจ
3) การทำลายกลุ่มผลประโยชน์กลุ่มสำคัญในขณะนั้น
4) ยุติการใช้วิธีการยึดอำนาจการปกครองได้อย่างมั่นคงถาวร
5. “วันประชาธิปไตย" เป็นวันที่รำลึกถึงเหตุการณ์ใด
1) การเรียกร้องรัฐธรรมนูญในปี พ.ศ. 2475
2) เหตุการณ์วันมหาวิปโยคปี พ.ศ. 2516
3) เหตุการณ์วันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2519
4) เหตุการณ์พฤษภาทมิฬ พ.ศ. 2535
6. รัฐบาลชุดใดไม่ได้ปกครองประเทศในช่วงหลังเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 จนถึง 6 ตุลาคม 2519
1) ม.ร.ว. เสนีย์ ปราโมช 2) นายสัญญา ธรรมศักดิ์
3) ม.รว. คึกฤทธิ์ ปราโมช 4) นายธานินทร์ กรัยวิเชียร
เหตุการณ์ 6 ตุลาคม 2519
1. ภายหลังเหตุการณ์ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 ข้อใดคือสภาพประชาธิปไตยในเมืองไทย
1) เกิดกลุ่มเรียกร้องสิทธิอย่างมากมาย ทำให้ประชาชนทั่วไปพึงพอใจมาก
2) เกิดขบวนการผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์ ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากประชาชนทั่วไป
3) เกิดกลุ่มเรียกร้องสิทธิ และกลุ่มต่อต้านการประท้วง
4) เกิดกลุ่มนิสิตนักศึกษา ชาวนาชาวไร่ ลูกเสือชาวบ้านที่ร่วมกันต่อต้านรัฐบาล
2. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับเหตุการณ์ 6 ตุลาคม พ.ศ.2519
1) เป็นเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516
2) เป็นเหตุการณ์ที่ประท้วงการกลับมาของอดีตหัวหน้ารัฐบาล
3) ผลของเหตุการณ์นี้ทำให้นิสิตนักศึกษาส่วนหนึ่งหลบหนีออกนอกประเทศ
4) เป็นเหตุการณ์รุนแรง แต่ไม่มีการใช้กองกำลังเข้าควบคุมสถานการณ์
3. วิธีการสำคัญที่รัฐบาลสมัยหลัง พ.ศ. 2519 ใช้ในการเอาชนะลัทธิคอมมิวนิสต์ในไทยคือ
1) ใช้กองกำลังจากต่างประเทศ 2) ใช้การเมืองนำหน้าทหาร
3) ใช้กองกำลังจากในประเทศ 4) ใช้การทูตกับประเทศสหภาพโซเวียต
พ.ศ 2519-2531
1. ภายหลังจากเหตุการณ์ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2519 รัฐบาลชุดใดมีนโยบายต่อต้านลัทธิคอมมิวนิสต์ อย่างสุดขั้ว
1) นายธานินทร์ กรัยวิเชียร 2) ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช
3) พล.อ. เกรียงศักดิ์ ชมะนันท์ 4) พล.อ. เปรม ติณสูลานนท์
2. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2521 ถูกเรียกว่า “ประชาธิปไตยครึ่งใบ” เพราะเหตุใด
1) ให้อำนาจแก่วุฒิสภาเหนือสภาผู้แทนราษฎร
2) ให้อำนาจแก่สภาผู้แทนราษฎรเหนือวุฒิสภา
3) ให้อำนาจแก่ทหารเหนือสภาผู้แทนราษฎร
4) ให้อำนาจแก่สภาผู้แทนราษฎรเหนือทหาร
3. ช่วงหลังสมัยสงครามเวียดนาม สหรัฐอเมริกาได้เน้นแนวคิดเรื่องใดมากที่สุด จนไทยต้องนำมาปรับปฏิบัติใช้ในการแก้ปัญหาด้านการเมือง
1) สิทธิมนุษยชน
2) ทรัพย์สินทางปัญญา
3) การใช้นิวเคลียร์แก้ปัญหาข้อขัดแย้ง
4) การเพิ่มกำลังทหารปราบปรามผู้ก่อการร้าย
4. นโยบายการเมืองนำหน้าทหาร เป็นนโยบายที่รัฐบาลชุดใดนำมาใช้ในการแก้ปัญหาผู้ก่อการร้าย
1) พล.อ. ชาติชาย ชุณหะวัณ 2) พล.อ. เปรม ติณสูลานนท์
3) พันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร 4) จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์
5. คำสั่งสำนักนายกรัฐมนตรี เลขที่ 66/2523 ประกาศขึ้นเพื่อใช้เป็นแนวทางในการแก้ไขปัญหาใด
1) ความแห้งแล้งในภาคอีสาน
2) ความขัดแย้งในพื้นที่ 4 จังหวัดภาคใต้
3) ความขัดแย้งในกองทัพ
4) ความขัดแย้งทางการเมืองกับพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย
6. ข้อใดไม่ได้เกิดสมัย พล. อ. เปรม ติณสูลานนท์ เป็นนายกรัฐมนตรี
1) การให้ความเห็นใจผู้ก่อการร้าย
2) โครงการพัฒนาชายฝั่งทะเลภาคใต้
3) การนำก๊าซธรรมาชาติจากอ่าวไทยมาใช้
4) การแก้ปัญหาความยากจนและการกระจายรายได้
พลเอกชาติชาย ชุณหวัณ
1. บทบาทที่เด่นที่สุดของรัฐบาล พล. อ. ชาติชาย ชุณหวัณ คือด้านใด
1) การต่างประเทศ 2) การทหาร
3) เศรษฐกิจ 4) การรักษาวัฒนธรรม
2. “เปลี่ยนสนามรบให้เป็นตลาดการค้า” หมายความว่าอย่างไร
1) ไทยหยุดรบกับเวียดนามหันมาค้าขายซึ่งกันและกัน
2) ยุติสงครามในเขมรเพื่อกระตุ้นให้เกิดการติดต่อค้าขาย
3) ทำสัญญาสันติภาพในอินโดจีนแล้วรวมกลุ่มแบบเดียวกับอาเซียน
4) กลุ่มประเทศอาเซียนเลิกประจันหน้ากับเวียดนามและเชิญเวียดนามเข้าเป็นสมาชิก
ส่งงานพรุ่งนี้ pleaseeeeeeeeeeeeeeeeeeee
1. ข้อใดเกิดขึ้นพร้อม ๆ กับเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่ 2
1) การต่อต้านภัยคอมมิวนิสต์
2) การประกาศนโยบายรัฐนิยม
3) การเข้าเป็นสมาชิกสหประชาชาติ
4) การขึ้นครองราชย์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9
2. ข้อใดไม่เกี่ยวกับการต่อต้านคนจีนในสมัยจอมพลป. พิบูลสงคราม
1) การควบคุมและปิดโรงเรียนจีน 2) การส่งเสริมให้ใช้สินค้าของไทย
3) การสงวนอาชีพสำหรับคนไทย 4) การเรียกร้องดินแดนลาวและเขมรคืน
3. ข้อใดไม่ใช่นโยบายของจอมพล ป. พิบูลสงครามในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2
1) การทำสงครามอินโดจีน 2) การเข้าร่วมสงครามโลก
3) การประกาศสงครามเป็นฝ่ายอักษะ 4) การจัดตั้งขบวนการเสรีไทย
หลังสงครามโลกครั้งที่ 2
1. นายกรัฐมนตรีภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ท่านใดเป็นที่ยอมรับของประเทศสหรัฐอเมริกามากที่สุด
1) จอมพล ป. พิบูลสงคราม 2) ม. ร. ว. เสนีย์ปราโมช
3) นายทวี บุณยเกต 4) นายควง อภัยวงศ์
2. พรรคการเมืองที่ตั้งมาตั้งแต่ครั้งสมัยหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 และดำเนินการมาถึงปัจจุบันคือข้อใด
1) พรรคชาติไทย 2) พรรคประชาธิปัตย์
3) พรรคราษฎร 4) พรรคไทยรักไทย
3. ในหน้าประวัติศาสตร์การเมืองไทยนายกรัฐมนตรีท่านใดไม่ได้กลับขึ้นมาเป็นนายกรัฐมนตรีซ้ำอีกเป็นครั้งที่สอง
1) นายควง อภัยวงศ์ 2) ม. ร. ว. เสนีย์ ปราโมช
3) ดร. ปรีดี พนมยงค์ 4) นายทวี บุณยเกต
จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์
1. จุดเด่นของการปกครองสมัยจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ คือข้อใด
1) ระบบเผด็จการทหาร 2) ระบบประชาธิปไตย
3) ประชาชนมีส่วนร่วมในการปกครอง 4) รัฐสภามีอำนาจเด็ดขาด
2. ในสมัยเผด็จการ หัวหน้ารัฐบาลชุดใดมีอำนาจมั่นคงตลอดสมัยที่ปกครองมากที่สุด
1) จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ 2) จอมพล ป. พิบูลสงคราม
3) จอมพลถนอม กิตติขจร 4) ดร.ปรีดี พนมยงค์
3. รัฐธรรมนูญฉบับใดมีบทบัญญัติที่ให้อำนาจเด็ดขาดแก่นายกรัฐมนตรี
1) รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2502 และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2511
2) รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2502 และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2519
3) รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2511 และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2519
4) รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2519 และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2521
4. ข้อใดไม่ใช่จุดเด่นด้านการปกครองสมัยจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์
1) ระบบเศรษฐกิจแบบชาตินิยม
2) การใช้แผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติ
3) การปราบปรามผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์
4) การให้อำนาจเด็ดขาดแก่นายกรัฐมนตรี
5. ข้อใดไม่ใช่จุดเด่นด้านการปกครองสมัยจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์
1) การพัฒนาประเทศ
2) การรักษาความสงบเรียบร้อย
3) การกระจายอำนาจให้กลุ่มทหาร
4) การร่วมเป็นพันธมิตรทางการทหารกับสหรัฐอเมริกา
เหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516
1. ข้อใดไม่ใช่สาเหตุที่ประชาชนไม่พอใจการปกครองก่อนเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516
1) รัฐบาลเล่นพรรคเล่นพวก 2) รัฐบาลเผด็จการ
3) รัฐบาลไม่ประชาธิปไตย 4) รัฐบาลควบคุมกองทัพได้อย่างเด็ดขาด
2. ข้อใดไม่ใช่สาเหตุของเหตุการณ์ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516
1) ประชาชนไม่พอใจรัฐบาลเผด็จการ
2) ประชาชนไม่พอใจการปกครองที่มีการฉ้อราษฎร์บังหลวง
3) ประชาชนต้องการเรียกร้องสิทธิ เสรีภาพ และเสมอภาค
4) ประชาชนต้องการให้ปราบปรามผู้ประท้วงด้วยวิธีละมุนละม่อม
3. วิกฤตการณ์ 14 ต.ค. พ.ศ. 2516 ก่อให้เกิดผลด้านการเมืองที่สำคัญหลายประการยกเว้นข้อใด
1) กลุ่มอาชีพต่าง ๆ เคลื่อนไหวเรียกร้องสิทธิประโยชน์และเสรีภาพ
2) มีการเลือกตั้งรัฐบาลประชาธิปไตยตามที่ระบุในรัฐธรมนูญใหม่
3) ทำให้มีการร่างรัฐธรรมนูญฉบับ พ.ศ. 2517
4) ทหารและกองทัพลดบทบาทการเข้ามาเกี่ยวข้องกับการเมืองจนถึงปัจจุบัน
4. ข้อใดไม่ใช่ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516
1) ระบบประชาธิปไตยเบ่งบานในเมืองไทย
2) ประชาชนเสื่อมศรัทธาในทหารและตำรวจ
3) การทำลายกลุ่มผลประโยชน์กลุ่มสำคัญในขณะนั้น
4) ยุติการใช้วิธีการยึดอำนาจการปกครองได้อย่างมั่นคงถาวร
5. “วันประชาธิปไตย" เป็นวันที่รำลึกถึงเหตุการณ์ใด
1) การเรียกร้องรัฐธรรมนูญในปี พ.ศ. 2475
2) เหตุการณ์วันมหาวิปโยคปี พ.ศ. 2516
3) เหตุการณ์วันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2519
4) เหตุการณ์พฤษภาทมิฬ พ.ศ. 2535
6. รัฐบาลชุดใดไม่ได้ปกครองประเทศในช่วงหลังเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 จนถึง 6 ตุลาคม 2519
1) ม.ร.ว. เสนีย์ ปราโมช 2) นายสัญญา ธรรมศักดิ์
3) ม.รว. คึกฤทธิ์ ปราโมช 4) นายธานินทร์ กรัยวิเชียร
เหตุการณ์ 6 ตุลาคม 2519
1. ภายหลังเหตุการณ์ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 ข้อใดคือสภาพประชาธิปไตยในเมืองไทย
1) เกิดกลุ่มเรียกร้องสิทธิอย่างมากมาย ทำให้ประชาชนทั่วไปพึงพอใจมาก
2) เกิดขบวนการผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์ ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากประชาชนทั่วไป
3) เกิดกลุ่มเรียกร้องสิทธิ และกลุ่มต่อต้านการประท้วง
4) เกิดกลุ่มนิสิตนักศึกษา ชาวนาชาวไร่ ลูกเสือชาวบ้านที่ร่วมกันต่อต้านรัฐบาล
2. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับเหตุการณ์ 6 ตุลาคม พ.ศ.2519
1) เป็นเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516
2) เป็นเหตุการณ์ที่ประท้วงการกลับมาของอดีตหัวหน้ารัฐบาล
3) ผลของเหตุการณ์นี้ทำให้นิสิตนักศึกษาส่วนหนึ่งหลบหนีออกนอกประเทศ
4) เป็นเหตุการณ์รุนแรง แต่ไม่มีการใช้กองกำลังเข้าควบคุมสถานการณ์
3. วิธีการสำคัญที่รัฐบาลสมัยหลัง พ.ศ. 2519 ใช้ในการเอาชนะลัทธิคอมมิวนิสต์ในไทยคือ
1) ใช้กองกำลังจากต่างประเทศ 2) ใช้การเมืองนำหน้าทหาร
3) ใช้กองกำลังจากในประเทศ 4) ใช้การทูตกับประเทศสหภาพโซเวียต
พ.ศ 2519-2531
1. ภายหลังจากเหตุการณ์ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2519 รัฐบาลชุดใดมีนโยบายต่อต้านลัทธิคอมมิวนิสต์ อย่างสุดขั้ว
1) นายธานินทร์ กรัยวิเชียร 2) ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช
3) พล.อ. เกรียงศักดิ์ ชมะนันท์ 4) พล.อ. เปรม ติณสูลานนท์
2. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2521 ถูกเรียกว่า “ประชาธิปไตยครึ่งใบ” เพราะเหตุใด
1) ให้อำนาจแก่วุฒิสภาเหนือสภาผู้แทนราษฎร
2) ให้อำนาจแก่สภาผู้แทนราษฎรเหนือวุฒิสภา
3) ให้อำนาจแก่ทหารเหนือสภาผู้แทนราษฎร
4) ให้อำนาจแก่สภาผู้แทนราษฎรเหนือทหาร
3. ช่วงหลังสมัยสงครามเวียดนาม สหรัฐอเมริกาได้เน้นแนวคิดเรื่องใดมากที่สุด จนไทยต้องนำมาปรับปฏิบัติใช้ในการแก้ปัญหาด้านการเมือง
1) สิทธิมนุษยชน
2) ทรัพย์สินทางปัญญา
3) การใช้นิวเคลียร์แก้ปัญหาข้อขัดแย้ง
4) การเพิ่มกำลังทหารปราบปรามผู้ก่อการร้าย
4. นโยบายการเมืองนำหน้าทหาร เป็นนโยบายที่รัฐบาลชุดใดนำมาใช้ในการแก้ปัญหาผู้ก่อการร้าย
1) พล.อ. ชาติชาย ชุณหะวัณ 2) พล.อ. เปรม ติณสูลานนท์
3) พันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร 4) จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์
5. คำสั่งสำนักนายกรัฐมนตรี เลขที่ 66/2523 ประกาศขึ้นเพื่อใช้เป็นแนวทางในการแก้ไขปัญหาใด
1) ความแห้งแล้งในภาคอีสาน
2) ความขัดแย้งในพื้นที่ 4 จังหวัดภาคใต้
3) ความขัดแย้งในกองทัพ
4) ความขัดแย้งทางการเมืองกับพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย
6. ข้อใดไม่ได้เกิดสมัย พล. อ. เปรม ติณสูลานนท์ เป็นนายกรัฐมนตรี
1) การให้ความเห็นใจผู้ก่อการร้าย
2) โครงการพัฒนาชายฝั่งทะเลภาคใต้
3) การนำก๊าซธรรมาชาติจากอ่าวไทยมาใช้
4) การแก้ปัญหาความยากจนและการกระจายรายได้
พลเอกชาติชาย ชุณหวัณ
1. บทบาทที่เด่นที่สุดของรัฐบาล พล. อ. ชาติชาย ชุณหวัณ คือด้านใด
1) การต่างประเทศ 2) การทหาร
3) เศรษฐกิจ 4) การรักษาวัฒนธรรม
2. “เปลี่ยนสนามรบให้เป็นตลาดการค้า” หมายความว่าอย่างไร
1) ไทยหยุดรบกับเวียดนามหันมาค้าขายซึ่งกันและกัน
2) ยุติสงครามในเขมรเพื่อกระตุ้นให้เกิดการติดต่อค้าขาย
3) ทำสัญญาสันติภาพในอินโดจีนแล้วรวมกลุ่มแบบเดียวกับอาเซียน
4) กลุ่มประเทศอาเซียนเลิกประจันหน้ากับเวียดนามและเชิญเวียดนามเข้าเป็นสมาชิก