เมื่อสี่ปีที่แล้ว กองทัพอากาศไทยกับจีนได้เริ่มฝึกผสม Falcon Strike
ข้อมูลจาก
https://alert5.com/2019/12/10/plaaf-j-11-beat-rtaf-gripen-16-0-on-first-day-of-falcon-strike-2015/
Dogfight
วันแรก 17 พ.ย. J-11 ของจีน dogfight ชนะ Gripen ของไทยไป 16:0
วันที่สอง 18 พ.ย. J-11 ของจีนก็ยัง dogfight ชนะ Gripen 9:1 ไทยชนะได้หนึ่งครั้ง เครื่องบินSU-11 ด๊อกไฟท์ ระยะใกล้ ได้เปรียบอย่างชัดเจน
วันที่ 19 พ.ย.ไม่ทราบว่าซ้อมอะไรครับ
ซ้อมรบแบบประเภทคู่ สองลำต่อสองลำ
วันที่สาม 20 พ.ย.Gripen เริ่มชนะ 19:3 นักบินจีนอ่อนยุทธวิธีในการร่วมมือ มุ่งแต่โจมตีข้างหน้าไม่ดูสภาพแวดล้อม ถูกนักบินไทยหลอกล่อให้โจมตีและหลงเข้าไปในพื้นที่สังหารของ Gripen อีกลำ(คล้ายกับที่มิราจสามของอิสราเอลหลอก mig-21 ที่ขับโดยนักบินรัสเซียที่อิยิปต์เลย) นักบินไทยมักใช้แสงดวงอาทิตย์ช่วยการโจมตี
ผลัดกันเป็นฝ่ายโจมตีตั้งรับ
วันที่สี่ 23 พ.ย. Gripen ยังได้เปรียบอยู่ J-11 9:1
วันที่ห้า 24 พ.ย Gripen ยังดีกว่าอยู่ 9:2
วันที่หก 25 พ.ย. เริ่มกลับมาสูสีแต่ Gripen 4:3
จากชัยชนะของ gripen ที่มีเหนือ J-11 จำนวน 42 ครั้ง คิดเป็นเปอร์เซนต์ ระยะใกล้ 12% ระยะกลาง30km 64% ระยะไกลเกิน 50km BVR 24%
ชัยชนะ J-11 ต่อ Gripen จำนวน 34 ครั้ง คิดเป็นเปอร์เซนต์ ระยะใกล้ 86% ระยะกลาง30km 14% ระยะไกลเกิน 50km BVR 0%
นักบินฝ่ายจีนขาดการร่วมมือที่ดี การประเมินรอบตัวไม่ดี เทคนิกการหลบหลีกขีปนาวุธไม่ดี
นักบินไทยตั้งรับและโจมตีเครื่องบินรบจีนได้ดี ส่วนจีนยากลำบากในการรับมือ Gripen และต้องโจมตีด้วยวิธีบินเพดานบินต่ำเท่านั้นถึงจะฝ่าแนวรับไทยได้
ในการซ้อมรบแบบคู่ นักบินจีนการสื่อสารร่วมมือ ระบบควบคุมการยิงและอาวุธตามหลัง Saab Gripen พอสมควร
ถึงเครื่องบินของจีนจะมีสมรรถนะ สเปคสูงกว่าแต่ก็ได้รับบทเรียนทางด้านยุทธวิธีการบิน ที่นักบินรบไทยมีเหนือกว่า
สมรรถนะ J-11(SU-27 รุ่นชิ้นส่วนผลิตจากรัสเซียแต่ประกอบในจีน) กับ Gripen ภาคภาษาจีน
สรุปครับ J-11จีนต้องมีเครื่องบินเอแวค ช่วยชี้เป้าระยะไกล Gripenไทยต้องมี Helmet Mounted Display ไว้รบระยะประชิด
ผลการซ้อมร่วม Falcon Strike 2015 วันแรก Dogfight J-11 ชนะ JAS-39 Gripen 16:0
ข้อมูลจาก https://alert5.com/2019/12/10/plaaf-j-11-beat-rtaf-gripen-16-0-on-first-day-of-falcon-strike-2015/
Dogfight
วันแรก 17 พ.ย. J-11 ของจีน dogfight ชนะ Gripen ของไทยไป 16:0
วันที่สอง 18 พ.ย. J-11 ของจีนก็ยัง dogfight ชนะ Gripen 9:1 ไทยชนะได้หนึ่งครั้ง เครื่องบินSU-11 ด๊อกไฟท์ ระยะใกล้ ได้เปรียบอย่างชัดเจน
วันที่ 19 พ.ย.ไม่ทราบว่าซ้อมอะไรครับ
ซ้อมรบแบบประเภทคู่ สองลำต่อสองลำ
วันที่สาม 20 พ.ย.Gripen เริ่มชนะ 19:3 นักบินจีนอ่อนยุทธวิธีในการร่วมมือ มุ่งแต่โจมตีข้างหน้าไม่ดูสภาพแวดล้อม ถูกนักบินไทยหลอกล่อให้โจมตีและหลงเข้าไปในพื้นที่สังหารของ Gripen อีกลำ(คล้ายกับที่มิราจสามของอิสราเอลหลอก mig-21 ที่ขับโดยนักบินรัสเซียที่อิยิปต์เลย) นักบินไทยมักใช้แสงดวงอาทิตย์ช่วยการโจมตี
ผลัดกันเป็นฝ่ายโจมตีตั้งรับ
วันที่สี่ 23 พ.ย. Gripen ยังได้เปรียบอยู่ J-11 9:1
วันที่ห้า 24 พ.ย Gripen ยังดีกว่าอยู่ 9:2
วันที่หก 25 พ.ย. เริ่มกลับมาสูสีแต่ Gripen 4:3
จากชัยชนะของ gripen ที่มีเหนือ J-11 จำนวน 42 ครั้ง คิดเป็นเปอร์เซนต์ ระยะใกล้ 12% ระยะกลาง30km 64% ระยะไกลเกิน 50km BVR 24%
ชัยชนะ J-11 ต่อ Gripen จำนวน 34 ครั้ง คิดเป็นเปอร์เซนต์ ระยะใกล้ 86% ระยะกลาง30km 14% ระยะไกลเกิน 50km BVR 0%
นักบินฝ่ายจีนขาดการร่วมมือที่ดี การประเมินรอบตัวไม่ดี เทคนิกการหลบหลีกขีปนาวุธไม่ดี
นักบินไทยตั้งรับและโจมตีเครื่องบินรบจีนได้ดี ส่วนจีนยากลำบากในการรับมือ Gripen และต้องโจมตีด้วยวิธีบินเพดานบินต่ำเท่านั้นถึงจะฝ่าแนวรับไทยได้
ในการซ้อมรบแบบคู่ นักบินจีนการสื่อสารร่วมมือ ระบบควบคุมการยิงและอาวุธตามหลัง Saab Gripen พอสมควร
ถึงเครื่องบินของจีนจะมีสมรรถนะ สเปคสูงกว่าแต่ก็ได้รับบทเรียนทางด้านยุทธวิธีการบิน ที่นักบินรบไทยมีเหนือกว่า
สมรรถนะ J-11(SU-27 รุ่นชิ้นส่วนผลิตจากรัสเซียแต่ประกอบในจีน) กับ Gripen ภาคภาษาจีน
สรุปครับ J-11จีนต้องมีเครื่องบินเอแวค ช่วยชี้เป้าระยะไกล Gripenไทยต้องมี Helmet Mounted Display ไว้รบระยะประชิด