สุดยอดความคิดเห็น
ความคิดเห็นที่ 19
คำว่า วินัย ของสังคมไทย
คือ แปลจากคำว่า order (คำสั่ง, ลำดับขั้น, อาวุโส)
คือ เราสอนลูกหลาน ให้เคารพเชื่อฟัง = มีวินัย
ดังนั้น สังคมไทยจึงรักพวกกลุ่ม = ลัดคิวให้พวก
แต่สังคม นานาชาติ
คำว่าวินัย หมายถึง discipline
คือ การเคารพระเบียบ แบบแผนจรรยา = มีวินัย
ดังนั้น สังคมนานาชาติจึง รักระเบียบจรรยาบรรณ = ไม่ลัดคิว
.
คำสอน 3 อย่างแรกที่ครอบครัวไทยสอนเด็กคือ
1.กตัญญู
2.เชื่อฟังผู้ใหญ่
3.รู้รักษาตัวรอดเป็นยอดดี
สรุปคือเด็กไทยเชื่อฟังกลุ่มรักกลุ่ม
คำสอน 3 ข้อแรกของเด็กญี่ปุ่น
1. จงมีวินัย (รักษาคิว เคารพกติกา)
2. ทำงานให้หนัก (ไม่เอาเปรียบคนอื่น)
3. จงช่วยเหลือคนแปลกหน้า
สรุปคือเด็กญี่ปุ่น ยึดความเท่าเทียม เคารพสิทธิผู้อื่น
เด็กแว๊นซ์ + ตีโรงเรียนอื่น คือ กตัญูญํต่อรุ่นพี่ รักพวกพ้อง เชื่อฟังกลุ่ม , โรงเรียนอื่นคือ พวกแปลกหน้า ไม่ใ่ช่พวกเรา
.....................................
ไปงานเลี้ยงรุ่น
มีแต่คนถามฝากลูกเข้าโรงเรียน
นี่คือรักพวกพ้อง + กตัญญู (แต่ละเมิดเด็กคนอื่นลูกคนอื่น)
......................................
เด็กไทย ขึ้นรถเก๋งไปโรงเรียน
จอดขวางไปหนึ่งเลน ทุกเช้าหน้าโรงเรียนดัง (มารถเก๋งคือเชื่อฟังพ่อแม่ เอาเปรียบคนอื่นไม่เป็นไร ให้รถติดไปหนึ่งเลน, ตัวเด็กเองนะอยากขึ้นรถเมล์)
.................
การแซงคิว การกั๊กคิว
การกั้นที่ให้พวกพ้อง
คือการคอรับชั่น
รากฐานของคอรับชั่น มาจากระบบอัปถัมภ์
ทำให้รักพวกพ้อง กั๊กคิวไว้ให้พวกพ้อง
รักพวกพ้องไม่ใช่ไม่ดี
แต่รักถึงขนาดปิดหูปิดตา
ไปละเมิดสิทธิผู้อื่น มันก็กลายเป็นคอรัปชั่น
↑↑↑
คคห#4 ถูกต้องที่สุด
รากฐานมาตั้งแต่คำสอนที่เราสอนเด็กๆ
ในครอบครัวไทย
เราควรสอนให้เด็กเคารพวินัย ทำงานให้หนัก
เคารพสิทธิของผู้อื่น
แทนที่จะสอนให้กตัญญู รักพวกพ้อง เชื่อฟังผู้ใหญ่
เพราะมันคือรากเหง้าของระบบอุปถัมภ์
.
.
คือ แปลจากคำว่า order (คำสั่ง, ลำดับขั้น, อาวุโส)
คือ เราสอนลูกหลาน ให้เคารพเชื่อฟัง = มีวินัย
ดังนั้น สังคมไทยจึงรักพวกกลุ่ม = ลัดคิวให้พวก
แต่สังคม นานาชาติ
คำว่าวินัย หมายถึง discipline
คือ การเคารพระเบียบ แบบแผนจรรยา = มีวินัย
ดังนั้น สังคมนานาชาติจึง รักระเบียบจรรยาบรรณ = ไม่ลัดคิว
.
คำสอน 3 อย่างแรกที่ครอบครัวไทยสอนเด็กคือ
1.กตัญญู
2.เชื่อฟังผู้ใหญ่
3.รู้รักษาตัวรอดเป็นยอดดี
สรุปคือเด็กไทยเชื่อฟังกลุ่มรักกลุ่ม
คำสอน 3 ข้อแรกของเด็กญี่ปุ่น
1. จงมีวินัย (รักษาคิว เคารพกติกา)
2. ทำงานให้หนัก (ไม่เอาเปรียบคนอื่น)
3. จงช่วยเหลือคนแปลกหน้า
สรุปคือเด็กญี่ปุ่น ยึดความเท่าเทียม เคารพสิทธิผู้อื่น
เด็กแว๊นซ์ + ตีโรงเรียนอื่น คือ กตัญูญํต่อรุ่นพี่ รักพวกพ้อง เชื่อฟังกลุ่ม , โรงเรียนอื่นคือ พวกแปลกหน้า ไม่ใ่ช่พวกเรา
.....................................
ไปงานเลี้ยงรุ่น
มีแต่คนถามฝากลูกเข้าโรงเรียน
นี่คือรักพวกพ้อง + กตัญญู (แต่ละเมิดเด็กคนอื่นลูกคนอื่น)
......................................
เด็กไทย ขึ้นรถเก๋งไปโรงเรียน
จอดขวางไปหนึ่งเลน ทุกเช้าหน้าโรงเรียนดัง (มารถเก๋งคือเชื่อฟังพ่อแม่ เอาเปรียบคนอื่นไม่เป็นไร ให้รถติดไปหนึ่งเลน, ตัวเด็กเองนะอยากขึ้นรถเมล์)
.................
การแซงคิว การกั๊กคิว
การกั้นที่ให้พวกพ้อง
คือการคอรับชั่น
รากฐานของคอรับชั่น มาจากระบบอัปถัมภ์
ทำให้รักพวกพ้อง กั๊กคิวไว้ให้พวกพ้อง
รักพวกพ้องไม่ใช่ไม่ดี
แต่รักถึงขนาดปิดหูปิดตา
ไปละเมิดสิทธิผู้อื่น มันก็กลายเป็นคอรัปชั่น
↑↑↑
คคห#4 ถูกต้องที่สุด
รากฐานมาตั้งแต่คำสอนที่เราสอนเด็กๆ
ในครอบครัวไทย
เราควรสอนให้เด็กเคารพวินัย ทำงานให้หนัก
เคารพสิทธิของผู้อื่น
แทนที่จะสอนให้กตัญญู รักพวกพ้อง เชื่อฟังผู้ใหญ่
เพราะมันคือรากเหง้าของระบบอุปถัมภ์
.
.
ความคิดเห็นที่ 16
ข้อความใน คห.6 เป็นความเชื่อผิดๆ ที่ค่อนข้างแพร่หลาย (ได้ยินได้อ่านบ่อย)
ทั้งญี่ปุ่นและเยอรมัน เจริญ และมีวินัยมาก่อนที่จะแพ้สงคราม (ไม่งั้นจะมีศักยภาพก่อสงครามระดับนี้ได้ยังไง)
ความเชื่อที่ว่าเจริญก้าวหน้าในปัจจุบันเพราะแพ้สงครามโลกมามันผิดถนัด
ไม่รู้ว่าที่มาที่ไปมันมาจากไหน แต่ได้ยินมานานเกินสิบปีละ
ทั้งญี่ปุ่นและเยอรมัน เจริญ และมีวินัยมาก่อนที่จะแพ้สงคราม (ไม่งั้นจะมีศักยภาพก่อสงครามระดับนี้ได้ยังไง)
ความเชื่อที่ว่าเจริญก้าวหน้าในปัจจุบันเพราะแพ้สงครามโลกมามันผิดถนัด
ไม่รู้ว่าที่มาที่ไปมันมาจากไหน แต่ได้ยินมานานเกินสิบปีละ
แสดงความคิดเห็น
ไม่แปลกเลยว่าทำไมญี่ปุ่นถึงประสบความสำเร็จแทบจะทุกอย่างที่พวกเค้าทำ
เห็นได้เลยว่าคนญี่ปุ่นไม่ธรรมดา ประสบความสำเร็จทุกๆเรื่อง
ทั้งในแง่ ดนตรี กีฬาแทบจะทุกประเภท
การรับมือกับภัยธรรมชาติ รวมถึงในแง่มุมเศรษฐกิจ
และอีกหลายๆเรื่อง
แสดงว่าคำว่าระเบียบวินัย และความสามัคคี นั้นคือสิ่งสำคัญมากจริงๆกับทุกๆเรื่อง