จากการที่อ่านประวัติการแข่งขันฟุตบอล ว่ากันว่า เป็นเกมส์กีฬาที่จำลองมาจากสงคราม
ผมว่า ความรู้สึกชาตินิยม ไม่ต่างจากส่งทหารออกไปรบในสนามรบ ต่อมาก็พัฒนาเป็นกีฬาอาชีพ
ค่าตัวนักเตะที่เก่งๆ เงินเดือนของนักเตะน่าจะแพงอันดับต้นๆ ของโลก นักเตะระดับโลกเมื่อเลิกเล่นแล้ว
ร่ำรวยระดับเศรษฐี สามารถซื้อเครื่องบิน Jet ส่วนตัวได้เลย
ด้วยค่าตัว เงินเดือนของนักกีฬาฟุตบอลสูงกว่าหลายๆ อาชีพ จึงเป็นที่นิยมใฝ่ฝันสำหรับเด็กผู้ชายทั่วโลก
ที่ฝันอยากเป็นนักเตะอาชีพเก่งๆ ด้วยค่าตัว และ เงินเดือนที่ล่อตาล่อใจ
ฟุตบอลจึงเป็นกีฬาอาชีพที่มีมูลค่ามากที่สุดในโลก และ การพัฒนานักเตะให้เข้าสู่นักฟุตบอลอาชีพ
ต้องเริ่มต้นตั้งแต่เด็กๆ จากรากหญ้า เราจะเห็นเด็กๆ ตามบ้านนอกชนบท (ตามสื่อโซเชี่ยล)
นิยมการเล่นฟุตบอลอย่างแพร่หลาย เพื่อพัฒนาไปสู่นักฟุตบอลอาชีพ ตามความใฝ่ฝันของเด็กๆ
แต่ก็นะ ด้วยความนิยม ทำให้องค์กร FIFA เป็นองค์กรที่มีเม็ดเงินหมุนเวียนมหาศาล
ด้วยการตลาด และมองแต่ผลประโยชน์ทางธุรกิจ ไม่ได้มองการพัฒนาคนที่แท้จริง
จึงมีกฏหมาย ธรรมนูญฟีฟ่า อนุญาตให้ทุกประเทศสามารถโอนสัญชาติเข้ามาเล่นในทีมชาติชุดใหญ่ได้โดยไม่จำกัด
มันเหมือน ทหารรับจ้างในสงครามอย่างนั้นเลย
ประเทศในกลุ่มอาเซี่ยนก็บ้าจี้ตาม เล่นโอนสัญชาตินักเตะอาชีพมาค่อนทีม
เผลอๆ ต่อไปอาจจะโอนสัญชาติทั้งทีมก็เป็นได้ บางประเทศก็มักง่ายทุ่มเงินมหาศาล
เพื่อตัวโอนสัญชาติมาเล่นกีฬาแค่ขอให้ชนะเพื่อนบ้านสักครั้ง หวังผลประโยชน์ทางการเมืองแอบแฝง
โดยเฉพาะประเทศเพื่อนบ้าน "สี่โมงแลง" ของเรา ต่อไป "สัญชาติเขมร" จะได้เป็นแค่กองเชียร์
ส่วนนักกีฬาเป็นตัวโอนสัญชาติหมด
หวังผลเพื่อชนะอย่างเดียว โดยลืมไปว่าการพัฒนากีฬา คือการพัฒนาสุขภาพของคนใจนชาติ ให้มีสุขภาพแข็งแรง
จะได้ลดค่ารักษา งบประมาณสาธารณสุข ที่สำคัญ คือการพัฒนาอาชีพนักกีฬาของคนในชาติ ออกสู่ลีกต่างประเทศทั่วโลก
สุดท้ายก็ไม่ได้พัฒนาการกีฬาที่ยั่งยืนอย่างแท้จริง
FIFA ควรพิจารณาข้อนี้ด้วย ควรจำกัดโควต้านักเตะโอนสัญชาติ เพราะต่อไปมันไม่ใช่การพัฒนากีฬาฟุตบอลที่แท้จริง
แต่มันเป็นความสำเร็จที่ที่ฉาบฉวยไม่ยั่งยืน
เรา "ประชาชนชาวไทย" ต้องขอบคุณ รัฐบาลไทย สมาคมกีฬาต่างๆ ที่เราใช้ลูกครึ่งเป็นหลัก
ที่มีสิทธิ์ในการถือสัญชาติไทยตามกฏหมายไทย และ ตามหลักสากล
เรายังไม่เคยเห็นนักกีฬาทีมชาติทุกชนิดกีฬาใช้ตัวโอนสัญชาติ มีแต่ลูกครั่ง ที่มี พ่อ หรือ แม่ เป็นคนไทย
มีเชื้อไทย ครึ่งหนึ่ง
ผลที่ได้คือ เรามีนักกีฬาอาชีพ ที่เก่งๆ ส่งออกไปเล่นต่างประเทศ ที่เห็นเป็นรูปธรรมชัดเจน
คือ วอลเลย์บอลหญิง และ ฟุตบอล ประเทศไทยน่าจะส่งออกนักกีฬาอาชีพมากที่สุดในกลุ่มอาเซี่ยน
และ น่าจะประสบผลสำเร็จมากที่สุดในการพัฒนากีฬาอาชีพ
เราคนไทยภูมิใจครับ ที่นโยบายสมาคมต่างๆ เราพัฒนาคนในชาติให้เล่นกีฬา สู่นักกีฬาอาชีพ
ไม่ใช่เฉพาะฟุตบอล ผมว่าเกือบจะทุกประเภท นี่แหละ "Japan way"
"
กีฬาแข่งเสร็จ นักกีฬาชนะ กองเชียร์ดีใจ รัฐบาลได้หน้า แล้วยังไงต่อ ????"
⚽️⚽️ ฟุตบอลนะเฮ๊ย ไม่ใช่สงคราม !! ชนะแล้วได้อะไร ???
ผมว่า ความรู้สึกชาตินิยม ไม่ต่างจากส่งทหารออกไปรบในสนามรบ ต่อมาก็พัฒนาเป็นกีฬาอาชีพ
ค่าตัวนักเตะที่เก่งๆ เงินเดือนของนักเตะน่าจะแพงอันดับต้นๆ ของโลก นักเตะระดับโลกเมื่อเลิกเล่นแล้ว
ร่ำรวยระดับเศรษฐี สามารถซื้อเครื่องบิน Jet ส่วนตัวได้เลย
ด้วยค่าตัว เงินเดือนของนักกีฬาฟุตบอลสูงกว่าหลายๆ อาชีพ จึงเป็นที่นิยมใฝ่ฝันสำหรับเด็กผู้ชายทั่วโลก
ที่ฝันอยากเป็นนักเตะอาชีพเก่งๆ ด้วยค่าตัว และ เงินเดือนที่ล่อตาล่อใจ
ฟุตบอลจึงเป็นกีฬาอาชีพที่มีมูลค่ามากที่สุดในโลก และ การพัฒนานักเตะให้เข้าสู่นักฟุตบอลอาชีพ
ต้องเริ่มต้นตั้งแต่เด็กๆ จากรากหญ้า เราจะเห็นเด็กๆ ตามบ้านนอกชนบท (ตามสื่อโซเชี่ยล)
นิยมการเล่นฟุตบอลอย่างแพร่หลาย เพื่อพัฒนาไปสู่นักฟุตบอลอาชีพ ตามความใฝ่ฝันของเด็กๆ
แต่ก็นะ ด้วยความนิยม ทำให้องค์กร FIFA เป็นองค์กรที่มีเม็ดเงินหมุนเวียนมหาศาล
ด้วยการตลาด และมองแต่ผลประโยชน์ทางธุรกิจ ไม่ได้มองการพัฒนาคนที่แท้จริง
จึงมีกฏหมาย ธรรมนูญฟีฟ่า อนุญาตให้ทุกประเทศสามารถโอนสัญชาติเข้ามาเล่นในทีมชาติชุดใหญ่ได้โดยไม่จำกัด
มันเหมือน ทหารรับจ้างในสงครามอย่างนั้นเลย
ประเทศในกลุ่มอาเซี่ยนก็บ้าจี้ตาม เล่นโอนสัญชาตินักเตะอาชีพมาค่อนทีม
เผลอๆ ต่อไปอาจจะโอนสัญชาติทั้งทีมก็เป็นได้ บางประเทศก็มักง่ายทุ่มเงินมหาศาล
เพื่อตัวโอนสัญชาติมาเล่นกีฬาแค่ขอให้ชนะเพื่อนบ้านสักครั้ง หวังผลประโยชน์ทางการเมืองแอบแฝง
โดยเฉพาะประเทศเพื่อนบ้าน "สี่โมงแลง" ของเรา ต่อไป "สัญชาติเขมร" จะได้เป็นแค่กองเชียร์
ส่วนนักกีฬาเป็นตัวโอนสัญชาติหมด
หวังผลเพื่อชนะอย่างเดียว โดยลืมไปว่าการพัฒนากีฬา คือการพัฒนาสุขภาพของคนใจนชาติ ให้มีสุขภาพแข็งแรง
จะได้ลดค่ารักษา งบประมาณสาธารณสุข ที่สำคัญ คือการพัฒนาอาชีพนักกีฬาของคนในชาติ ออกสู่ลีกต่างประเทศทั่วโลก
สุดท้ายก็ไม่ได้พัฒนาการกีฬาที่ยั่งยืนอย่างแท้จริง
FIFA ควรพิจารณาข้อนี้ด้วย ควรจำกัดโควต้านักเตะโอนสัญชาติ เพราะต่อไปมันไม่ใช่การพัฒนากีฬาฟุตบอลที่แท้จริง
แต่มันเป็นความสำเร็จที่ที่ฉาบฉวยไม่ยั่งยืน
เรา "ประชาชนชาวไทย" ต้องขอบคุณ รัฐบาลไทย สมาคมกีฬาต่างๆ ที่เราใช้ลูกครึ่งเป็นหลัก
ที่มีสิทธิ์ในการถือสัญชาติไทยตามกฏหมายไทย และ ตามหลักสากล
เรายังไม่เคยเห็นนักกีฬาทีมชาติทุกชนิดกีฬาใช้ตัวโอนสัญชาติ มีแต่ลูกครั่ง ที่มี พ่อ หรือ แม่ เป็นคนไทย
มีเชื้อไทย ครึ่งหนึ่ง
ผลที่ได้คือ เรามีนักกีฬาอาชีพ ที่เก่งๆ ส่งออกไปเล่นต่างประเทศ ที่เห็นเป็นรูปธรรมชัดเจน
คือ วอลเลย์บอลหญิง และ ฟุตบอล ประเทศไทยน่าจะส่งออกนักกีฬาอาชีพมากที่สุดในกลุ่มอาเซี่ยน
และ น่าจะประสบผลสำเร็จมากที่สุดในการพัฒนากีฬาอาชีพ
เราคนไทยภูมิใจครับ ที่นโยบายสมาคมต่างๆ เราพัฒนาคนในชาติให้เล่นกีฬา สู่นักกีฬาอาชีพ
ไม่ใช่เฉพาะฟุตบอล ผมว่าเกือบจะทุกประเภท นี่แหละ "Japan way"
"กีฬาแข่งเสร็จ นักกีฬาชนะ กองเชียร์ดีใจ รัฐบาลได้หน้า แล้วยังไงต่อ ????"