ปฏิทรรศน์ (paradox) ในทางฟิสิกส์หมายถึง ประโยคหรือกลุ่มของประโยคที่เป็นจริงอย่างชัดเจน แต่นำไปสู่ความขัดแย้งในตัวเอง
ยกตัวอย่างเช่น ปฏิทรรศน์ (paradox) ที่ Einstein และเพื่อนอีกสองคนนำเสนอนั้นคือ ทางออกที่ซ่อนอยู่ภายใต้หลักความไม่แน่นอนของ Heisenberg แต่การที่ Einstein ตัดสินใจไม่นำพาแนวคิดปฏิทรรศน์ (paradox) ไปต่อก็เป็นเพราะ Einstein คิดว่า ความรู้เกี่ยวกับข้อมูลหนึ่งจะมีผลทำให้รู้เกี่ยวกับข้อมูลที่สองในทันที เป็นเรื่องที่เหลือเชื่อเพราะสัญญาณในการติดต่อระหว่างอนุภาคทั้งสองจะต้องเดินทางด้วยความเร็วสูงยิ่งกว่าแสง ซึ่งเป็นเรื่องที่เป็นไปไม่ได้ตามทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษ ถ้า Einstein ไม่ยอมรับความพ่ายแพ้และเดินตามแนวคิดปฏิทรรศน์ (paradox) ไปจนสุดทาง Einstein จะสามารถเอาชนะหลักความไม่แน่นอนของ Heisenberg ได้ แต่การไม่ยอมรับความพ่ายแพ้และเดินตามแนวคิดปฏิทรรศน์ (paradox) ไปจนสุดทางจะต้องแลกมาด้วยการยอมรับว่า ควอนตัมเดินทางเร็วกว่าแสง ซึ่งเป็นสิ่งที่ Einstein ยอมรับไม่ได้เพราะเท่ากับว่า Einstein จะต้องทำลายหลักการของตัวเองที่กล่าวว่า ไม่มีอะไรเดินทางเร็วกว่าแสงที่ทำให้ Einstein สามารถสร้างสมการและทฤษฎีและทำให้ Einstein กลายเป็นคนดังและมีชื่อเสียง หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งคือ สิ่งที่ทำให้ Einstein ยอมรับพ่ายแพ้ให้แก่หลักความไม่แน่นอนของ Heisenberg ก็คือ ความกลัวและความยึดติดอยู่กับผลงานที่เคยสร้างชื่อเสียงของตัว Einstein เอง ดังนั้นการยอมรับความพ่ายแพ้ให้กับหลักความไม่แน่นอนของ Heisenberg เพื่อรักษาและคงไว้ซึ่งหลักการของตัวเองที่เป็นผู้สร้างสมการและทฤษฎีอันโด่งดัง เมื่อ Einstein เลือกที่จะยืนอยู่บนความกลัวและความยึดติดของตัวเอง (โดยไม่รู้ตัว) การยอมรับพ่ายแพ้ให้แก่หลักความไม่แน่นอนของ Heisenberg จึงเป็นทางเลือกเดียวที่ Einstein เหลือให้กับตัวเองเช่นเดียวกันกับที่เกิดขึ้นกับคุณอภิสิทธิ์และคนอื่นทั่วโลก ซึ่งการยอมรับความพ่ายแพ้ให้กับหลักความไม่แน่นอน(ที่ยืนอยู่บนความแน่นอน) ของตัวเองก็ทำให้ Einstein เป็นผู้แพ้ของตัวเองทันทีโดยอัตโนมัติและทำให้ Einstein ไม่ได้ไปต่อคือ ไม่สามารถสร้างสรรค์ผลงานใหม่แทนที่ผลงานเดิมของตัวเองได้ ซึ่งในระดับควอนตัมการแทนที่ใช่และไม่ใช่การแทนที่ในสิ่งเดียวกันในเวลาเดียวกัน สิ่งเดียวกันใช่และไม่ใช่สิ่งเดียวกันในเวลาเดียวกัน และเวลาเดียวกันใช่และไม่ใช่เวลาเดียวกันในเวลาเดียวกัน ความไม่สามารถเอาชนะความขัดแย้ง/ความย้อนแย้ง/ปฏิทรรศน์ (paradox) ที่เกิดขึ้นกับตัวเองได้คือ สิ่งที่ทำให้ไม่มีใครสามารถเข้าถึงแรงดึงดูดและแรงโน้มถ่วงที่ซ่อนอยู่ภายใต้แรงดึงดูดและแรงโน้มถ่วงที่ได้รับการค้นพบแล้วได้ (การเดินทางของแสง การเคลื่อนที่ของโลก ดวงอาทิตย์และจักรวาล ทุกสรรพสิ่งจะมีความใช่และไม่ใช่อยู่ภายในและภายนอกตัวเองและอยู่ภายในและภายนอกกันและกัน)
ปฏิทรรศน์ (paradox) ในทางความคิดและความรู้สึกในระดับควอนตัมหมายถึง ประโยคหรือกลุ่มของประโยคที่มี/เป็น/อยู่และไม่มี/ไม่เป็น/ไม่อยู่ของความจริงและไม่จริง อย่างชัดเจนและไม่ชัดเจนอยู่ในสิ่งเดียวกันในเวลาเดียวกัน ความขัดแย้งคือความขัดแย้ง และความขัดแย้งก็ไม่ใช่ความขัดแย้งในสิ่งเดียวกันในเวลาเดียวกัน สิ่งเดียวกันใช่และไม่ใช่สิ่งเดียวกันในเวลาเดียวกัน และเวลาเดียวกันใช่และไม่ใช่เวลาเดียวกันในเวลาเดียวกัน
ยกตัวอย่างเช่น ความรู้และไม่รู้ในสิ่งเดียวกันในเวลาเดียวกันคือ ธรรมชาติของการเรียนรู้ที่มีวันสิ้นสุดและไม่มีวันสิ้นสุดในสิ่งเดียวกันในเวลาเดียวกัน สิ่งเดียวกันใช่และไม่ใช่สิ่งเดียวกันในเวลาเดียวกัน และเวลาเดียวกันใช่และไม่ใช่เวลาเดียวกันในเวลาเดียวกัน ซึ่งภายในความไม่รู้มีความรู้และความไม่รู้อยู่และภายในความรู้ก็มีความรู้และความไม่รู้อยู่เช่นเดียวกัน ซึ่งความรู้และไม่รู้ในสิ่งเดียวกันในเวลาเดียวกันจะมีทั้งความเหมือนและความแตกต่างกันคือ ภายในความเหมือนก็จะมีทั้งความเหมือนและความแตกต่างกัน และในขณะเดียวกันและหรือในทางกลับกันภายในความแตกต่างก็จะมีทั้งความแตกต่างและความเหมือนอยู่ในสิ่งเดียวกันในเวลาเดียวกัน สิ่งเดียวกันใช่และไม่ใช่สิ่งเดียวกันในเวลาเดียวกัน และเวลาเดียวกันใช่และไม่ใช่เวลาเดียวกันในเวลาเดียวกัน ยกตัวอย่างเช่น สถานะและสภาวะของคุณธนาธรที่กล่าวว่า ตัวเองเพิ่งรู้ตัวว่าตัวเองเป็นคนเลวหลังจากมาลงเล่นการเมืองนี่แหละ นี่คือ ความรู้ตัวและไม่รู้ตัวในสิ่งเดียวกันในเวลาเดียวกันคือ การรู้ตัวจากการได้รับผลจากสิ่งที่เกิดขึ้นภายนอก ซึ่งผลที่ได้รับมาจากสองทางคือ มาจากการกระทำของตัวเองและหรือของคนอื่น ความหมายคือ คนอื่นทำให้คุณธนาธรได้รู้ว่าตัวเองเป็นคนเลว และมาจากการได้รับรู้ว่าตัวเองเป็นคนเลวโดยทันทีของตัวคุณธนาธรเองหลังจากการได้รับรู้จากคนอื่น ซึ่งการได้รับรู้ว่าตัวเองเป็นคนเลวโดยอัตโนมัติ ในระดับควอนตัมจะเป็นการรับรู้โดยอัตโนมัติและไม่รับรู้โดยอัตโนมัติในสิ่งเดียวกันในเวลาเดียวกัน สิ่งเดียวกันใช่และไม่ใช่สิ่งเดียวกันในเวลาเดียวกัน และเวลาเดียวกันใช่และไม่ใช่เวลาเดียวกันในเวลาเดียวกัน ซึ่งทำให้ตัวคุณธนาธรเองตกอยู่ในสถานะและสภาวะของการรู้และไม่รู้ในสิ่งเดียวกันในเวลาเดียวกัน/ กึ่งรู้กึ่งไม่รู้ เช่นเดียวกันกับที่เกิดขึ้นกับการยอมรับความพ่ายแพ้ของ Einstein ความหมายของการรับรู้โดยอัตโนมัติและไม่รับรู้โดยอัตโนมัติหมายถึง การรับรู้ของคนเราจะมีสองส่วนคือ การรับรู้ผ่านความเป็นอนุภาคและการรับรู้ผ่านความเป็นคลื่น ซึ่งจะมีทั้งความเหมือนและความแตกต่างกันในสิ่งเดียวกันในเวลาเดียวกัน สิ่งเดียวกันใช่และไม่ใช่สิ่งเดียวกันในเวลาเดียวกัน และเวลาเดียวกันใช่และไม่ใช่เวลาเดียวกันในเวลาเดียวกัน มนุษย์ทุกคนมีความพยายามที่จะเดินออกจากสถานะและสภาวะของการรู้และไม่รู้ในสิ่งเดียวกันในเวลาเดียวกัน/ กึ่งรู้กึ่งไม่รู้ แต่การมีความพยายามในการเดินออกจากความรู้และไม่รู้ของตัวเองด้วยความไม่รู้และไม่เข้าใจธรรมชาติของธรรมชาติที่อยู่ภายในและภายนอกตัวเรา (โลก) ทำให้ความพยายามของเรา=การพ่ายเรือวนอยู่ในอ่าง/เดินวนอยู่ภายในเขาวงกตของเราด้วยตัวเอง = การทำร้ายทำลายตัวเองและผู้อื่นด้วยตัวของเราเอง (ถ้าหากคุณธนาธรมีความเข้าใจในความรู้ที่ได้รับรู้ว่าตัวเองเป็นคนเลวอย่างถ่องแท้/แท้จริงคุณธนาธรจะทำสิ่งที่แตกต่างออกไปอย่างสิ้นเชิงทันทีโดยอัตโนมัติ)
ตัวอย่างของความย้อนแย้งหรือความขัดแย้ง/ปฏิทรรศน์ (paradox) ที่เกิดขึ้นภายในและภายนอกตัวเองของนายกรัฐมนตรีคุณประยุทธ์ที่เกี่ยวกับการแก้ไขรัฐธรรมนูญคือ ความพยายามในการเดินออกจากพลังงานบวกและพลังงานลบหนึ่ง+แรงดึงดูดและแรงโน้มถ่วงหนึ่งของตัวคุณประยุทธ์เอง (โลก) ถ้าหากคุณประยุทธ์สามารถนำพาความคิดความรู้สึกและการกระทำของตัวเองเดินไปจนสุดทางได้คุณประยุทธ์ก็จะสามารถเป็นผู้ชนะให้กับสถานการณ์ภายในและภายนอกของตัวเองได้ ซึ่งการเป็นผู้ชนะและผู้แพ้ให้กับสถานการณ์ภายในและภายนอกของตัวเองจะมีสถานะและสภาวะทางควอนตัมสองสถานะและสองสภาวะคือ ชนะและแพ้ และ กึ่งชนะกึ่งแพ้คือ 1. การเปลี่ยนรูปกลับไปกลับมาระหว่างความคิดและความรู้สึกที่เกิดขึ้นโดยอัตโนมัติและไม่ได้เกิดขึ้นโดยอัตโนมัติ และ การใช้ความคิดเอาชนะความคิด และการใช้ความรู้สึกเอาชนะความรู้สึกของตัวเองและของผู้อื่น 2. ชนะความคิดแต่แพ้ความรู้สึก หรือชนะความรู้สึกแต่แพ้ความคิดของตัวเอง หรือชนะสถานการณ์ภายนอกของผู้อื่น แต่ไม่ชนะสถานการณ์ภายในของผู้อื่น (การเปลี่ยนแปลงความคิดความรู้สึกและการกระทำจำเป็นต้องทำด้วยตัวของคนคนนั้นเองเท่านั้น)
ทำความเข้าใจกับปฏิทรรศน์ (paradox) ในระดับควอนตัม
ยกตัวอย่างเช่น ปฏิทรรศน์ (paradox) ที่ Einstein และเพื่อนอีกสองคนนำเสนอนั้นคือ ทางออกที่ซ่อนอยู่ภายใต้หลักความไม่แน่นอนของ Heisenberg แต่การที่ Einstein ตัดสินใจไม่นำพาแนวคิดปฏิทรรศน์ (paradox) ไปต่อก็เป็นเพราะ Einstein คิดว่า ความรู้เกี่ยวกับข้อมูลหนึ่งจะมีผลทำให้รู้เกี่ยวกับข้อมูลที่สองในทันที เป็นเรื่องที่เหลือเชื่อเพราะสัญญาณในการติดต่อระหว่างอนุภาคทั้งสองจะต้องเดินทางด้วยความเร็วสูงยิ่งกว่าแสง ซึ่งเป็นเรื่องที่เป็นไปไม่ได้ตามทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษ ถ้า Einstein ไม่ยอมรับความพ่ายแพ้และเดินตามแนวคิดปฏิทรรศน์ (paradox) ไปจนสุดทาง Einstein จะสามารถเอาชนะหลักความไม่แน่นอนของ Heisenberg ได้ แต่การไม่ยอมรับความพ่ายแพ้และเดินตามแนวคิดปฏิทรรศน์ (paradox) ไปจนสุดทางจะต้องแลกมาด้วยการยอมรับว่า ควอนตัมเดินทางเร็วกว่าแสง ซึ่งเป็นสิ่งที่ Einstein ยอมรับไม่ได้เพราะเท่ากับว่า Einstein จะต้องทำลายหลักการของตัวเองที่กล่าวว่า ไม่มีอะไรเดินทางเร็วกว่าแสงที่ทำให้ Einstein สามารถสร้างสมการและทฤษฎีและทำให้ Einstein กลายเป็นคนดังและมีชื่อเสียง หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งคือ สิ่งที่ทำให้ Einstein ยอมรับพ่ายแพ้ให้แก่หลักความไม่แน่นอนของ Heisenberg ก็คือ ความกลัวและความยึดติดอยู่กับผลงานที่เคยสร้างชื่อเสียงของตัว Einstein เอง ดังนั้นการยอมรับความพ่ายแพ้ให้กับหลักความไม่แน่นอนของ Heisenberg เพื่อรักษาและคงไว้ซึ่งหลักการของตัวเองที่เป็นผู้สร้างสมการและทฤษฎีอันโด่งดัง เมื่อ Einstein เลือกที่จะยืนอยู่บนความกลัวและความยึดติดของตัวเอง (โดยไม่รู้ตัว) การยอมรับพ่ายแพ้ให้แก่หลักความไม่แน่นอนของ Heisenberg จึงเป็นทางเลือกเดียวที่ Einstein เหลือให้กับตัวเองเช่นเดียวกันกับที่เกิดขึ้นกับคุณอภิสิทธิ์และคนอื่นทั่วโลก ซึ่งการยอมรับความพ่ายแพ้ให้กับหลักความไม่แน่นอน(ที่ยืนอยู่บนความแน่นอน) ของตัวเองก็ทำให้ Einstein เป็นผู้แพ้ของตัวเองทันทีโดยอัตโนมัติและทำให้ Einstein ไม่ได้ไปต่อคือ ไม่สามารถสร้างสรรค์ผลงานใหม่แทนที่ผลงานเดิมของตัวเองได้ ซึ่งในระดับควอนตัมการแทนที่ใช่และไม่ใช่การแทนที่ในสิ่งเดียวกันในเวลาเดียวกัน สิ่งเดียวกันใช่และไม่ใช่สิ่งเดียวกันในเวลาเดียวกัน และเวลาเดียวกันใช่และไม่ใช่เวลาเดียวกันในเวลาเดียวกัน ความไม่สามารถเอาชนะความขัดแย้ง/ความย้อนแย้ง/ปฏิทรรศน์ (paradox) ที่เกิดขึ้นกับตัวเองได้คือ สิ่งที่ทำให้ไม่มีใครสามารถเข้าถึงแรงดึงดูดและแรงโน้มถ่วงที่ซ่อนอยู่ภายใต้แรงดึงดูดและแรงโน้มถ่วงที่ได้รับการค้นพบแล้วได้ (การเดินทางของแสง การเคลื่อนที่ของโลก ดวงอาทิตย์และจักรวาล ทุกสรรพสิ่งจะมีความใช่และไม่ใช่อยู่ภายในและภายนอกตัวเองและอยู่ภายในและภายนอกกันและกัน)
ปฏิทรรศน์ (paradox) ในทางความคิดและความรู้สึกในระดับควอนตัมหมายถึง ประโยคหรือกลุ่มของประโยคที่มี/เป็น/อยู่และไม่มี/ไม่เป็น/ไม่อยู่ของความจริงและไม่จริง อย่างชัดเจนและไม่ชัดเจนอยู่ในสิ่งเดียวกันในเวลาเดียวกัน ความขัดแย้งคือความขัดแย้ง และความขัดแย้งก็ไม่ใช่ความขัดแย้งในสิ่งเดียวกันในเวลาเดียวกัน สิ่งเดียวกันใช่และไม่ใช่สิ่งเดียวกันในเวลาเดียวกัน และเวลาเดียวกันใช่และไม่ใช่เวลาเดียวกันในเวลาเดียวกัน
ยกตัวอย่างเช่น ความรู้และไม่รู้ในสิ่งเดียวกันในเวลาเดียวกันคือ ธรรมชาติของการเรียนรู้ที่มีวันสิ้นสุดและไม่มีวันสิ้นสุดในสิ่งเดียวกันในเวลาเดียวกัน สิ่งเดียวกันใช่และไม่ใช่สิ่งเดียวกันในเวลาเดียวกัน และเวลาเดียวกันใช่และไม่ใช่เวลาเดียวกันในเวลาเดียวกัน ซึ่งภายในความไม่รู้มีความรู้และความไม่รู้อยู่และภายในความรู้ก็มีความรู้และความไม่รู้อยู่เช่นเดียวกัน ซึ่งความรู้และไม่รู้ในสิ่งเดียวกันในเวลาเดียวกันจะมีทั้งความเหมือนและความแตกต่างกันคือ ภายในความเหมือนก็จะมีทั้งความเหมือนและความแตกต่างกัน และในขณะเดียวกันและหรือในทางกลับกันภายในความแตกต่างก็จะมีทั้งความแตกต่างและความเหมือนอยู่ในสิ่งเดียวกันในเวลาเดียวกัน สิ่งเดียวกันใช่และไม่ใช่สิ่งเดียวกันในเวลาเดียวกัน และเวลาเดียวกันใช่และไม่ใช่เวลาเดียวกันในเวลาเดียวกัน ยกตัวอย่างเช่น สถานะและสภาวะของคุณธนาธรที่กล่าวว่า ตัวเองเพิ่งรู้ตัวว่าตัวเองเป็นคนเลวหลังจากมาลงเล่นการเมืองนี่แหละ นี่คือ ความรู้ตัวและไม่รู้ตัวในสิ่งเดียวกันในเวลาเดียวกันคือ การรู้ตัวจากการได้รับผลจากสิ่งที่เกิดขึ้นภายนอก ซึ่งผลที่ได้รับมาจากสองทางคือ มาจากการกระทำของตัวเองและหรือของคนอื่น ความหมายคือ คนอื่นทำให้คุณธนาธรได้รู้ว่าตัวเองเป็นคนเลว และมาจากการได้รับรู้ว่าตัวเองเป็นคนเลวโดยทันทีของตัวคุณธนาธรเองหลังจากการได้รับรู้จากคนอื่น ซึ่งการได้รับรู้ว่าตัวเองเป็นคนเลวโดยอัตโนมัติ ในระดับควอนตัมจะเป็นการรับรู้โดยอัตโนมัติและไม่รับรู้โดยอัตโนมัติในสิ่งเดียวกันในเวลาเดียวกัน สิ่งเดียวกันใช่และไม่ใช่สิ่งเดียวกันในเวลาเดียวกัน และเวลาเดียวกันใช่และไม่ใช่เวลาเดียวกันในเวลาเดียวกัน ซึ่งทำให้ตัวคุณธนาธรเองตกอยู่ในสถานะและสภาวะของการรู้และไม่รู้ในสิ่งเดียวกันในเวลาเดียวกัน/ กึ่งรู้กึ่งไม่รู้ เช่นเดียวกันกับที่เกิดขึ้นกับการยอมรับความพ่ายแพ้ของ Einstein ความหมายของการรับรู้โดยอัตโนมัติและไม่รับรู้โดยอัตโนมัติหมายถึง การรับรู้ของคนเราจะมีสองส่วนคือ การรับรู้ผ่านความเป็นอนุภาคและการรับรู้ผ่านความเป็นคลื่น ซึ่งจะมีทั้งความเหมือนและความแตกต่างกันในสิ่งเดียวกันในเวลาเดียวกัน สิ่งเดียวกันใช่และไม่ใช่สิ่งเดียวกันในเวลาเดียวกัน และเวลาเดียวกันใช่และไม่ใช่เวลาเดียวกันในเวลาเดียวกัน มนุษย์ทุกคนมีความพยายามที่จะเดินออกจากสถานะและสภาวะของการรู้และไม่รู้ในสิ่งเดียวกันในเวลาเดียวกัน/ กึ่งรู้กึ่งไม่รู้ แต่การมีความพยายามในการเดินออกจากความรู้และไม่รู้ของตัวเองด้วยความไม่รู้และไม่เข้าใจธรรมชาติของธรรมชาติที่อยู่ภายในและภายนอกตัวเรา (โลก) ทำให้ความพยายามของเรา=การพ่ายเรือวนอยู่ในอ่าง/เดินวนอยู่ภายในเขาวงกตของเราด้วยตัวเอง = การทำร้ายทำลายตัวเองและผู้อื่นด้วยตัวของเราเอง (ถ้าหากคุณธนาธรมีความเข้าใจในความรู้ที่ได้รับรู้ว่าตัวเองเป็นคนเลวอย่างถ่องแท้/แท้จริงคุณธนาธรจะทำสิ่งที่แตกต่างออกไปอย่างสิ้นเชิงทันทีโดยอัตโนมัติ)
ตัวอย่างของความย้อนแย้งหรือความขัดแย้ง/ปฏิทรรศน์ (paradox) ที่เกิดขึ้นภายในและภายนอกตัวเองของนายกรัฐมนตรีคุณประยุทธ์ที่เกี่ยวกับการแก้ไขรัฐธรรมนูญคือ ความพยายามในการเดินออกจากพลังงานบวกและพลังงานลบหนึ่ง+แรงดึงดูดและแรงโน้มถ่วงหนึ่งของตัวคุณประยุทธ์เอง (โลก) ถ้าหากคุณประยุทธ์สามารถนำพาความคิดความรู้สึกและการกระทำของตัวเองเดินไปจนสุดทางได้คุณประยุทธ์ก็จะสามารถเป็นผู้ชนะให้กับสถานการณ์ภายในและภายนอกของตัวเองได้ ซึ่งการเป็นผู้ชนะและผู้แพ้ให้กับสถานการณ์ภายในและภายนอกของตัวเองจะมีสถานะและสภาวะทางควอนตัมสองสถานะและสองสภาวะคือ ชนะและแพ้ และ กึ่งชนะกึ่งแพ้คือ 1. การเปลี่ยนรูปกลับไปกลับมาระหว่างความคิดและความรู้สึกที่เกิดขึ้นโดยอัตโนมัติและไม่ได้เกิดขึ้นโดยอัตโนมัติ และ การใช้ความคิดเอาชนะความคิด และการใช้ความรู้สึกเอาชนะความรู้สึกของตัวเองและของผู้อื่น 2. ชนะความคิดแต่แพ้ความรู้สึก หรือชนะความรู้สึกแต่แพ้ความคิดของตัวเอง หรือชนะสถานการณ์ภายนอกของผู้อื่น แต่ไม่ชนะสถานการณ์ภายในของผู้อื่น (การเปลี่ยนแปลงความคิดความรู้สึกและการกระทำจำเป็นต้องทำด้วยตัวของคนคนนั้นเองเท่านั้น)