ทำความเข้าใจกับหลักความไม่แน่นอน(uncertainty principle)ของ Heisenberg และการยอมรับความพ่ายแพ้ของ Einstein ในระดับควอนตัม

หลักความไม่แน่นอน (uncertainty principle) ของ Heisenberg แถลงว่า เราไม่สามารถวัดตำแหน่งและโมเมนตัมของอนุภาคใดๆ ได้ อย่างแม่นยำ ในเวลาเดียวกัน ข้อจำกัดนี้มิได้เกิดจากการไร้ความสามารถของมนุษย์ แต่การที่เป็นเช่นนี้เพราะก่อนที่นักทดลองจะลงมือวัดค่าโมเมนตัม หรือตำแหน่งของอิเล็กตรอน อิเล็กตรอนมิได้มีโมเมนตัม และตำแหน่งที่มีค่าแน่นอน แต่มันมีโมเมนตัมได้นานาค่าและสามารถอยู่ได้ทุกหนแห่งรอบอะตอมในเวลาเดียวกัน ซึ่งมีความใช่และไม่ใช่อยู่ในสิ่งเดียวกันในเวลาเดียวกัน สิ่งเดียวกันใช่และไม่ใช่สิ่งเดียวกันในเวลาเดียวกัน และเวลาเดียวกันใช่และไม่ใช่เวลาเดียวกันในเวลาเดียวกัน
คำอธิบายในระดับควอนตัมคือ ตำแหน่งและโมเมนตัมของอิเล็กตรอนหรือของทุกสรรพสิ่งจะมีตำแหน่งและโมเมนตัมที่แน่นอนและไม่แน่นอนอยู่สองจุดภายในจุดเดียวกันในเวลาเดียวกัน จุดเดียวกันใช่และไม่ใช่จุดเดียวกันในเวลาเดียวกัน และเวลาเดียวกันใช่และไม่ใช่เวลาเดียวกันในเวลาเดียวกัน = ภายในและภายนอก ซึ่งภายในก็จะมี/เป็น/อยู่และไม่มี/ไม่เป็น/ไม่อยู่ของความแน่นอนและความไม่แน่นอนอยู่ และในขณะเดียวกันและหรือในทางกลับกันภายนอกก็จะมี/เป็น/อยู่และไม่มี/ไม่เป็น/ไม่อยู่ของความไม่แน่นอนและความแน่นอนอยู่เหมือนกันแต่มีแตกต่างกันคือ มีกลับด้านและไม่ได้มีกลับด้านกันอยู่ในสิ่งเดียวกันในเวลาเดียวกัน สิ่งเดียวกันใช่และไม่ใช่สิ่งเดียวกันในเวลาเดียวกัน และเวลาเดียวกันใช่และไม่ใช่เวลาเดียวกันในเวลาเดียวกัน ยกตัวอย่างเช่น ในเวลาที่เรามองเงาในกระจก/ในน้ำเราจะมองเห็นความไม่แน่นอนที่ยืนอยู่บนความแน่นอนคือ ตำแหน่งและโมเมนตัมระหว่างตัวเรากับเงาของเราจะมีทั้งตำแหน่งและโมเมนตัมที่อยู่กลับด้านและไม่ได้อยู่กลับด้านกันในสิ่งเดียวกันในเวลาเดียวกัน หรือในตัวอย่างของการวัดค่าโมเมนตัม หรือตำแหน่งของอิเล็กตรอนภายนอกที่มีโมเมนตัมได้นานาค่าและสามารถอยู่ได้ทุกหนแห่งรอบอะตอมในเวลาเดียวกันนั้นก็มาจากการมีค่าโมเมนตัมและตำแหน่งที่แน่นอนที่อยู่ภายในของอิเล็กตรอนคือ ค่าของความเป็นอนุภาคและคลื่น ซึ่งค่าที่แน่นอนของความเป็นอนุภาคและคลื่นภายในก็ยืนอยู่บนค่าของความไม่แน่นอนของตัวเองและของกันและกันระหว่างความเป็นอนุภาคและความเป็นคลื่นคือ อนุภาคสามารถประพฤติตัวเป็นคลื่นได้ และในขณะเดียวกันและหรือในทางกลับกันคลื่นก็สามารถประพฤติตัวเป็นอนุภาคได้เช่นเดียวกัน ซึ่งความสามารถในการประพฤติตัวกลับไปกลับมาของทั้งอนุภาคและคลื่นจะมีทั้งข้อจำกัดและไม่มีข้อจำกัดอยู่ภายในตัวเองและภายในกันและกันที่มีส่วนสำคัญของการเกิดขึ้นของกำแพงควอนตัม และหรือการเกิดขึ้นของปรากฏการณ์ที่เรียกว่า การลอดอุโมงค์ของอนุภาคควอมตัม (quantum tunnelling) ซึ่งก็คือความสามารถและไม่สามารถในการประพฤติตัวกลับไปกลับมาของทั้งอนุภาคและคลื่นที่ทำให้อนุภาคบางตัวสามารถทะลุผ่านและอนุภาคบางตัวไม่สามารถทะลุผ่านกำแพงควอนตัมไปได้ ซึ่งความสามารถและไม่สามารถในการทะลุผ่านกำแพงควอนตัมก็เชื่อมต่อมาจากการมีข้อจำกัดและไม่มีข้อจำกัดของความเป็นอนุภาคและความเป็นคลื่นที่อยู่ภายในตัวเองและภายในกันและกันของตัวอนุภาคและคลื่นเองเช่นเดียวกันกับการสร้างกำแพงและความสามารถและไม่สามารถในการทะลุผ่านกำแพงที่เราสร้างขึ้นด้วยตัวของเราเองของมนุษย์ทุกคนที่เชื่อมต่อมาจากการมีข้อจำกัดและไม่มีข้อจำกัดของจำนวนและระหว่างเซลล์สมองและเซลล์เส้นประสาทที่อยู่ภายในสองส่วนหน้าสมองส่วนกลางและสมองส่วนล่างและอยู่ในทุกส่วนของร่างกายเช่นเดียวกับการทำงานของอิเล็กตรอนที่สามารถอยู่ได้ทุกหนแห่งรอบอะตอมและวนอยู่รอบความเป็นอนุภาคและคลื่นที่อยู่ภายในตัวเอง ดังนั้นหลักความไม่แน่นอน (uncertainty principle) ของ Heisenberg จึงมีทั้งความไม่แน่นอนและความแน่นอนอยู่ในสิ่งเดียวกันในเวลาเดียวกัน สิ่งเดียวกันใช่และไม่ใช่สิ่งเดียวกันในเวลาเดียวกัน และเวลาเดียวกันใช่และไม่ใช่เวลาเดียวกันในเวลาเดียวกัน ซึ่งทั้งความไม่แน่นอนและความแน่นอนที่อยู่ในสิ่งเดียวกันในเวลาเดียวกันทั้งภายในและภายนอกทำให้เกิดเป็นวงจรหรือวัฏจักรหรือค่าอนันต์ของกระบวนการสร้างและทำลาย เกิดและตาย การเคลื่อนที่ในสิ่งเดียวกันในเวลาเดียวกัน สิ่งเดียวกันใช่และไม่ใช่สิ่งเดียวกันในเวลาเดียวกัน และเวลาเดียวกันใช่และไม่ใช่เวลาเดียวกันในเวลาเดียวกัน
ความคิดความรู้สึกและแสง (สิ่งที่ซ่อนอยู่) คือ ความใช่และไม่ใช่ในสิ่งเดียวกันในเวลาเดียวกัน
ความคิดความรู้สึกและแสง (สิ่งที่ซ่อนอยู่) คือ สิ่งเดียวกันที่ใช่และไม่ใช่สิ่งเดียวกันในเวลาเดียวกัน 
ความคิดความรู้สึกและแสง (สิ่งที่ซ่อนอยู่) คือ สิ่งที่มี/เป็น/อยู่และไม่มี/ไม่เป็น/ไม่อยู่ของเวลาที่ใช่และไม่ใช่เวลาเดียวกันในเวลาเดียวกัน
***การทำงานของทุกสรรพสิ่ง(มนุษย์ โลกและจักรวาล)จะทำงานภายใต้มิติทางควอนตัม+1มิติของช่องว่างและเวลา(มี/เป็น/อยู่และไม่มี/ไม่เป็น/ไม่อยู่ในสิ่งเดียวกันในเวลาเดียวกัน)=การเข้าไปสังเกตและเรียนรู้หลักทำงานภายในของและระหว่างเซลล์สมองและเซลล์เส้นประสาทผ่านทางความคิดและความรู้สึกที่มีอยู่ไปสู่ความคิดและความรู้สึกที่ไม่มีอยู่แล้วนำความคิดและความรู้สึกที่ไม่มีอยู่(มีอยู่ในอนาคต)มาทำให้เป็นปัจจุบัน ในระดับควอนตัม ปฏิทรรศน์ (paradox) คือ ความใช่และไม่ใช่ มีและไม่มี เป็นและไม่เป็น อยู่และไม่อยู่ในสิ่งเดียวกันในเวลาเดียวกัน สิ่งเดียวกันใช่และไม่ใช่สิ่งเดียวกันในเวลาเดียวกัน และเวลาเดียวกันใช่และไม่ใช่เวลาเดียวกันในเวลาเดียวกัน
เหตุผลที่ทำให้ Einstein ยอมรับความพ่ายแพ้ให้กับหลักความไม่แน่นอน (uncertainty principle) ของ Heisenberg คือ เหตุผลเดียวกันและไม่ใช่เหตุผลเดียวกันในสิ่งเดียวกันในเวลาเดียวกัน สิ่งเดียวกันใช่และไม่ใช่สิ่งเดียวกันในเวลาเดียวกัน และเวลาเดียวกันใช่และไม่ใช่เวลาเดียวกันในเวลาเดียวกัน ซึ่งเป็นไปตามหลักการของควอนตัมที่กล่าวว่าถ้าเราวัดโมเมนตัมของอนุภาคตัวหนึ่ง ข้อมูลที่ได้จะทำให้รู้โมเมนตัมของอนุภาคอีกตัวหนึ่งทันที ในทำนองเดียวกัน ถ้าเราวัดตำแหน่งของอนุภาคตัวหนึ่ง ข้อมูลที่ได้จะทำให้รู้ตำแหน่งของอนุภาคอีกตัวหนึ่งทันที ดังนั้นเหตุผลที่ทำให้ Einstein ยอมรับความพ่ายแพ้จึงมีสองเหตุผลที่ใช่และไม่ใช่สองเหตุผลอยู่ในสิ่งเดียวกันในเวลาเดียวกัน สิ่งเดียวกันใช่และไม่ใช่สิ่งเดียวกันในเวลาเดียวกัน และเวลาเดียวกันใช่และไม่ใช่เวลาเดียวกันในเวลาเดียวกันคือ 1. ยอมรับความพ่ายแพ้ให้กับหลักความไม่แน่นอน (uncertainty principle) ของ Heisenberg (ที่ยืนอยู่บนความแน่นอน) 2. ยอมรับความพ่ายแพ้ให้กับหลักความไม่แน่นอน (uncertainty principle) ของตัวเอง (ที่ยืนอยู่บนความแน่นอน) หรือในอีกความหมายหนึ่งคือ การยอมรับความพ่ายแพ้ข้อที่หนึ่งจะทำให้ Einstein ต้องยอมรับความพ่ายแพ้ข้อที่สองในทันทีโดยอัตโนมัติ และในขณะเดียวกันและหรือในทางกลับกันการยอมรับความพ่ายแพ้ข้อที่สองจะทำให้ Einstein ต้องยอมรับความพ่ายแพ้ข้อที่หนึ่งในทันทีโดยอัตโนมัติเช่นเดียวกัน ซึ่งการยอมรับความพ่ายแพ้ทั้งสองข้อมาจากความสามารถในการประพฤติตัวของอนุภาคที่สามารถประพฤติตัวเป็นคลื่นได้ และในขณะเดียวกันและหรือในทางกลับกันคลื่นก็สามารถประพฤติตัวเป็นอนุภาคได้เช่นเดียวกัน ซึ่งเป็นไปตามธรรมชาติของทุกสรรพสิ่ง มนุษย์ (ทุกสรรพสิ่ง) มีธรรมชาติของความคิดและธรรมชาติของความรู้สึกที่มีการทำงานที่เหมือนและแตกต่างกัน มนุษย์มีความพยายามที่จะใช้ชีวิตอยู่ภายใต้และอยู่เหนือธรรมชาติโดยมีความพยายามที่จะยืนอยู่บนจุดยืนใดจุดยืนหนึ่งโดยที่คิดและเข้าใจไปเองว่าเป็นจุดยืนที่ถูกต้องของตัวเอง ซึ่งความคิดและเข้าใจที่เกี่ยวกับจุดยืนของคนเรานั้นมีความใช่/ความถูกต้องและมีความไม่ใช่/ไม่ถูกต้องอยู่ในสิ่งเดียวกันในเวลาเดียวกัน สิ่งเดียวกันใช่และไม่ใช่สิ่งเดียวกันในเวลาเดียวกัน และเวลาเดียวกันใช่และไม่ใช่เวลาเดียวกันในเวลาเดียวกันคือ ภายในจุดหนึ่งจุดจะมีทั้งความใช่และไม่ใช่อยู่ในจุดเดียวกันในเวลาเดียวกัน(อนุภาคและคลื่น) ซึ่งตามหลักการเปิดเผยตัวตนของควอนตัมเมื่อเราผ่านจุดของความใช่/ความถูกต้องไปแล้วเราจะเข้าสู่จุดของความไม่ใช่/ความไม่ถูกต้องทันที ซึ่งทั้งความใช่และไม่ใช่ที่อยู่ในสิ่งเดียวกันต่างก็เป็นความใช่และไม่ใช่ของตัวเองและของกันและกันด้วยกันทั้งคู่ ซึ่งนำไปสู่อีก 4สมการที่ซ่อนอยู่ภายในและภายนอกคือ ใช่คือใช่ ไม่ใช่คือไม่ใช่ ไม่ใช่คือใช่และใช่คือไม่ใช่ ดังนั้นความพยายามในการเอาชนะกันจึงมีความใช่และไม่ใช่อยู่ในสิ่งเดียวกันในเวลาเดียวกัน สิ่งเดียวกันใช่และไม่ใช่สิ่งเดียวกันในเวลาเดียวกัน และเวลาเดียวกันใช่และไม่ใช่เวลาเดียวกันในเวลาเดียวกัน ซึ่งเป็นไปตามหลักการทางควอนตัมที่ทำงานอยู่ภายใต้แรงพื้นฐานธรรมชาติ 4 แรง + 4 แรงที่ซ่อนอยู่ ซึ่งแรงทั้ง 8 จะมีความใช่และไม่ใช่อยู่ภายในตัวเองและอยู่ภายในกันและกัน ตัวเองใช่และไม่ใช่ตัวเอง กันและกันใช่และไม่ใช่กันและกันในสิ่งเดียวกันในเวลาเดียวกัน และเวลาเดียวกันใช่และไม่ใช่เวลาเดียวกันในเวลาเดียวกัน เมื่อสิ่งที่เราคิดและเข้าใจมีความใช่/ความถูกต้องอยู่เราจึงมีความพยายามที่จะใช้ชีวิตอยู่ภายใต้ความใช่/ความถูกต้องนั้น=ความพยายามที่จะใช้ชีวิตอยู่ภายใต้และอยู่เหนือธรรมชาติโดยพยายามที่จะยืนอยู่บนจุดยืนใดจุดยืนหนึ่งโดยไม่พยายามทำความเข้าใจกับธรรมชาติของธรรมชาติที่อยู่ภายในและภายนอกตัวเรา ซึ่งความพยายามที่จะใช้ชีวิตอยู่ภายใต้และอยู่เหนือธรรมชาติด้วยความไม่รู้และไม่เข้าใจธรรมชาติของธรรมชาติที่อยู่ภายในและภายนอกตัวเรา (โลก) จะทำให้เกิดความเป็นไปได้สองทางคือ 1. การทำร้ายทำลายตัวเองและผู้อื่นด้วยตัวของเราเอง 2. สร้างชื่อเสียง/ความสำเร็จให้กับตัวเองและผู้อื่นด้วยตัวของเราเอง
แสดงความคิดเห็น
โปรดศึกษาและยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคลก่อนเริ่มใช้งาน อ่านเพิ่มเติมได้ที่นี่