เงื่อนไขพิเศษ โครงการทางรถไฟลาว-จีน ใครได้ใครเสีย?
***รายละเอียดค่อนข้างยาว***
รัฐบาลลาว กำหนด 6 นโยบายพิเศษ เพื่อสนับสนุนโครงการสร้างเส้นทางรถไฟ ลาว-จีน และรัฐบาลจีน วางนโยบายสนับสนุนโครงการดังกล่าวไว้เช่นกัน
(ก) รัฐบาลลาว เห็นดี
1. อนุญาตให้บริษัทร่วมทุน นำใช้ที่ดิน ที่เป็นของรัฐ จำนวน 3 ประเภท โดยไม่ต้องเสียค่าสัมปะทาน เป็นต้น
1.1 ที่ดิน ในขอบเขตแนวทาง, ขอบเขตสถานี และสะพานข้ามน้ำโขง
1.2 ที่ดิน ในขอบเขตพื้นที่การก่อสร้างในระยะการก่อสร้าง และเส้นทางเข้า-ออก พื้นที่การก่อสร้าง
1.3 ที่ดิน ในขอบเขตเชื่อมต่อเข้าหาสิ่งอำนวยความสะดวกสาธารณูปโภค และขอบเขตเชื่อมต่อกับระบบเส้นทางหลวงแห่งชาติ
2. เห็นดี ยกเว้นอากรตัวเลขธุรกิจ และอากรมูลค่าเพิ่มให้บริษัทร่วมทุนในระยะการก่อสร้างทางรถไฟ
3. เห็นดี ยกเว้นการเก็บค่าทำเนียมนำเข้าวัสดุก่อสร้างภายในประเทศลาว คือ ดิน หิน แร่ และทราย ในระยะการก่อสร้าง
4. เห็นดี ยกเว้นการเก็บค่าพาสีนำเข้าของพาหนะเครื่องจักร, วัสดุ-อุปกรณ์การก่อสร้าง, น้ำมัน, เครื่องอะไหล่ และอุปกรณ์จำเป็นอื่นๆ ที่จะต้องนำเข้าจากต่างประเทศ
5. ส่วนค่าทำเนียมของพนักงาน ที่เข้ามาทำงานในโครงการ จะเก็บค่าทำเนียม 50% ของอัตราการเก็บค่าทำเนียมเต็ม ขออนุญาตให้คนต่างประเทศ (จีน) ในการทำบัตรแรงงาน, บัตรอนุญาตการพำนัก และวีซ่าเข้า-ออก
6. เห็นดี ให้บริษัทร่วมทุนพัฒนาโครงการอื่นๆ รอบโครงการทางรถไฟ ซึ่งรัฐบาล จะพิจารณาอะนุมัติตามระเบียบกฏหมายส่งเสริมการลงทุนของประเทศลาว
(ข) รัฐบาลจีน เห็นดี
1. สนับสนุนให้รัฐวิสาหกิจที่มีความสามารถของจีน มาลงทุนก่อสร้าง และดำเนินการบริการทางรถไฟ
2. อนุมัติเงินกู้พิเศษให้กับรัฐบาลลาว เพื่อนำมาเป็นเงินต้นทุนสำหรับโครงการ จำนวน 480 ล้านดอลล่าสหรัฐ ด้วยอัตราดอกเบี้ย 2.3% ต่อปี โดยหลักการทั่วไปในสากลแล้ว จะไม่สามารถกู้เงินเพื่อมาเป็นเงินต้นทุนได้
3. อัตราดอกเบี้ยของการลงทุนก่อสร้างทางรถไฟใน ประเทศจีน ในโครงการทั่วไป จะอยู่ที่ 4.9% ต่อปี
4. รัฐบาลจีน ได้สนองนโยบายเงินกู้ ให้แก่โครงการนี้ในอัตราดอกเบี้ยไม่เกิน 3% ต่อปี และส่วนต่างของอัตราดอกเบี้ยดังกล่าว รัฐบาลจีน จะเป็นผู้จ่ายให้ทั้งหมด
(ค) โครงการก่อสร้างทางรถไฟลาว-จีน จะมีขอบเขตการใช้ที่ดิน ดังนี้
1. ที่ดินถาวร สำหรับแนวทางรถไฟ และสถานี รวมทั้งหมด ประมาณ 3,058 เฮกตา
2. ขอบเขตการใช้ที่ดินชั่วคราว สำหรับ บ่อดิน บ่อแร่ และพื้นที่ทิ้งเศษขยะ 800 เฮกตา
3. ต้องสงวนพื้นที่จำนวนหนึ่ง อยู่ทางทิศใต้ของนครหลวงเวียงจันทน์ เพื่อรองรับการก่อสร้างอาคาร เพื่อเป็นศูนย์เปลี่ยนถ่ายสินค้าต่างๆ
(ง) โครงการก่อสร้างทางรถไฟลาว-จีน มีมูลค่า 7 พันล้านดอลล่าสหรัฐ
1. ผลตอบแทนต้นทุน คิดเป็น 4.38% และระยะที่สามารถแทนทุนคืนทั้งหมด 35 ปี รวมทั้งระยะการก่อสร้าง
2. ส่วนผลตอบแทนทางเศษรฐกิจของโครงการ คิดเป็น 24.57% ถือว่าสูงกว่าค่ามาตรฐาน ด้านประสิทธิผลโดยรวมที่กำหนดไว้ 12%
3. เมื่อโครงการนี้สำเร็จแล้ว จะประกอบส่วนสำคัญเข้าสู่การผลักดันขบวนการผลิตเป็นสินค้าโดยรวมของประชาชนลาว
4. สำหรับโครงการลงทุนเส้นทางรถไฟลาว-จีน จะต้องสร้างบริษัทร่วมทุน 2 ฝ่าย โดยฝ่ายลาว ถือหุ้น 30% และจีน ถือหุ้น 70%
5. แต่ละฝ่าย ต้องออกเงินต้นทุน ตามอัตราส่วนของการถือหุ้นของตัวเอง และรวมกันให้ได้ 40% ของมูนค่าโครงการ
6. ส่วน 60% บริษัทร่วมทุน จะกู้ยืมเงินกับธนาคารของ จีน
7. สำหรับการออกเงินต้นทุน ของฝ่ายลาว โดยรวมประมาณ 730 ล้านดอลล่าสหรัฐ
7.1 โดยฝ่ายลาว สามารถออกเงินต้นทุน เข้าในโครงการมีก่อนประมาณ 50 ล้านดอลล่าสหรัฐ ซึ่งรวมระยะ 5 ปี ของการก่อสร้าง เป็นเงินทั้งหมด 250 ล้านดอลล่าสหรัฐ
7.2 ส่วนจำนวนที่ยังค้างจ่าย ประมาณ 480 ล้านดอลล่าสหรัฐ ฝ่ายลาวได้เสนอรัฐบาลจีน พิจารณาแก้ไขด้วยรูปแบบกู้ยืมดอกเบี้ยนโยบาย และ
7.3 การเสนอโครงสร้างการลงทุนในลักษณะนี้ แม้ว่าความพยายามของฝ่ายจีน ที่จะทำให้โครงการมีความเป็นได้สูง บนพื้นฐานความยุ่งยาก ด้านการเงินของฝ่ายลาว มีความสะดวกขึ้น
หมายเหตุ : ข้อมูลที่ระบุไว้ข้างต้น แปลจากหนังสือราชการของ สปปลาว ไม่มีการดัดแปลงข้อมูลเพิ่มเติม
เงื่อนไขพิเศษ โครงการทางรถไฟลาว-จีน ใครได้ใครเสีย?
(ก) รัฐบาลลาว เห็นดี
1. อนุญาตให้บริษัทร่วมทุน นำใช้ที่ดิน ที่เป็นของรัฐ จำนวน 3 ประเภท โดยไม่ต้องเสียค่าสัมปะทาน เป็นต้น
1.1 ที่ดิน ในขอบเขตแนวทาง, ขอบเขตสถานี และสะพานข้ามน้ำโขง
1.2 ที่ดิน ในขอบเขตพื้นที่การก่อสร้างในระยะการก่อสร้าง และเส้นทางเข้า-ออก พื้นที่การก่อสร้าง
1.3 ที่ดิน ในขอบเขตเชื่อมต่อเข้าหาสิ่งอำนวยความสะดวกสาธารณูปโภค และขอบเขตเชื่อมต่อกับระบบเส้นทางหลวงแห่งชาติ
2. เห็นดี ยกเว้นอากรตัวเลขธุรกิจ และอากรมูลค่าเพิ่มให้บริษัทร่วมทุนในระยะการก่อสร้างทางรถไฟ
3. เห็นดี ยกเว้นการเก็บค่าทำเนียมนำเข้าวัสดุก่อสร้างภายในประเทศลาว คือ ดิน หิน แร่ และทราย ในระยะการก่อสร้าง
4. เห็นดี ยกเว้นการเก็บค่าพาสีนำเข้าของพาหนะเครื่องจักร, วัสดุ-อุปกรณ์การก่อสร้าง, น้ำมัน, เครื่องอะไหล่ และอุปกรณ์จำเป็นอื่นๆ ที่จะต้องนำเข้าจากต่างประเทศ
5. ส่วนค่าทำเนียมของพนักงาน ที่เข้ามาทำงานในโครงการ จะเก็บค่าทำเนียม 50% ของอัตราการเก็บค่าทำเนียมเต็ม ขออนุญาตให้คนต่างประเทศ (จีน) ในการทำบัตรแรงงาน, บัตรอนุญาตการพำนัก และวีซ่าเข้า-ออก
6. เห็นดี ให้บริษัทร่วมทุนพัฒนาโครงการอื่นๆ รอบโครงการทางรถไฟ ซึ่งรัฐบาล จะพิจารณาอะนุมัติตามระเบียบกฏหมายส่งเสริมการลงทุนของประเทศลาว
(ข) รัฐบาลจีน เห็นดี
1. สนับสนุนให้รัฐวิสาหกิจที่มีความสามารถของจีน มาลงทุนก่อสร้าง และดำเนินการบริการทางรถไฟ
2. อนุมัติเงินกู้พิเศษให้กับรัฐบาลลาว เพื่อนำมาเป็นเงินต้นทุนสำหรับโครงการ จำนวน 480 ล้านดอลล่าสหรัฐ ด้วยอัตราดอกเบี้ย 2.3% ต่อปี โดยหลักการทั่วไปในสากลแล้ว จะไม่สามารถกู้เงินเพื่อมาเป็นเงินต้นทุนได้
3. อัตราดอกเบี้ยของการลงทุนก่อสร้างทางรถไฟใน ประเทศจีน ในโครงการทั่วไป จะอยู่ที่ 4.9% ต่อปี
4. รัฐบาลจีน ได้สนองนโยบายเงินกู้ ให้แก่โครงการนี้ในอัตราดอกเบี้ยไม่เกิน 3% ต่อปี และส่วนต่างของอัตราดอกเบี้ยดังกล่าว รัฐบาลจีน จะเป็นผู้จ่ายให้ทั้งหมด
(ค) โครงการก่อสร้างทางรถไฟลาว-จีน จะมีขอบเขตการใช้ที่ดิน ดังนี้
1. ที่ดินถาวร สำหรับแนวทางรถไฟ และสถานี รวมทั้งหมด ประมาณ 3,058 เฮกตา
2. ขอบเขตการใช้ที่ดินชั่วคราว สำหรับ บ่อดิน บ่อแร่ และพื้นที่ทิ้งเศษขยะ 800 เฮกตา
3. ต้องสงวนพื้นที่จำนวนหนึ่ง อยู่ทางทิศใต้ของนครหลวงเวียงจันทน์ เพื่อรองรับการก่อสร้างอาคาร เพื่อเป็นศูนย์เปลี่ยนถ่ายสินค้าต่างๆ
(ง) โครงการก่อสร้างทางรถไฟลาว-จีน มีมูลค่า 7 พันล้านดอลล่าสหรัฐ
1. ผลตอบแทนต้นทุน คิดเป็น 4.38% และระยะที่สามารถแทนทุนคืนทั้งหมด 35 ปี รวมทั้งระยะการก่อสร้าง
2. ส่วนผลตอบแทนทางเศษรฐกิจของโครงการ คิดเป็น 24.57% ถือว่าสูงกว่าค่ามาตรฐาน ด้านประสิทธิผลโดยรวมที่กำหนดไว้ 12%
3. เมื่อโครงการนี้สำเร็จแล้ว จะประกอบส่วนสำคัญเข้าสู่การผลักดันขบวนการผลิตเป็นสินค้าโดยรวมของประชาชนลาว
4. สำหรับโครงการลงทุนเส้นทางรถไฟลาว-จีน จะต้องสร้างบริษัทร่วมทุน 2 ฝ่าย โดยฝ่ายลาว ถือหุ้น 30% และจีน ถือหุ้น 70%
5. แต่ละฝ่าย ต้องออกเงินต้นทุน ตามอัตราส่วนของการถือหุ้นของตัวเอง และรวมกันให้ได้ 40% ของมูนค่าโครงการ
6. ส่วน 60% บริษัทร่วมทุน จะกู้ยืมเงินกับธนาคารของ จีน
7. สำหรับการออกเงินต้นทุน ของฝ่ายลาว โดยรวมประมาณ 730 ล้านดอลล่าสหรัฐ
7.1 โดยฝ่ายลาว สามารถออกเงินต้นทุน เข้าในโครงการมีก่อนประมาณ 50 ล้านดอลล่าสหรัฐ ซึ่งรวมระยะ 5 ปี ของการก่อสร้าง เป็นเงินทั้งหมด 250 ล้านดอลล่าสหรัฐ
7.2 ส่วนจำนวนที่ยังค้างจ่าย ประมาณ 480 ล้านดอลล่าสหรัฐ ฝ่ายลาวได้เสนอรัฐบาลจีน พิจารณาแก้ไขด้วยรูปแบบกู้ยืมดอกเบี้ยนโยบาย และ
7.3 การเสนอโครงสร้างการลงทุนในลักษณะนี้ แม้ว่าความพยายามของฝ่ายจีน ที่จะทำให้โครงการมีความเป็นได้สูง บนพื้นฐานความยุ่งยาก ด้านการเงินของฝ่ายลาว มีความสะดวกขึ้น
หมายเหตุ : ข้อมูลที่ระบุไว้ข้างต้น แปลจากหนังสือราชการของ สปปลาว ไม่มีการดัดแปลงข้อมูลเพิ่มเติม