โมคคัลลานะ ! ก็ มิได้แสดงบุคคลที่เจ็ดอันเป็น อนิมิตตวิหารี
(ผู้อยู่ด้วยวิหารธรรมอันไม่มีนิมิต) แก่เธอดอกหรือ ?
“ข้าแต่พระผู้มีพระภาค ! บัดนี้เป็นกาลสมควรที่พระผู้มีพระภาค
จะทรงแสดงซึ่งบุคคลที่ 7 ผู้เป็นอนิมิตตวิหารี ;
ภิกษุทั้งหลายได้ฟังจากพระผู้มีพระภาคแล้ว จักทรงจำไว้”.
โมคคัลลานะ ! ภิกษุในกรณีนี้ เข้าถึงซึ่งเจโตสมาธิอันไม่มีนิมิต
เพราะไม่กระทำไว้ในใจซึ่งนิมิตทั้งปวง แล้วแลอยู่. เทวดาเหล่านั้น ถึง
ย่อมรู้จักภิกษุนั้นอย่างนี้ว่า “ท่านผู้มีอายุนี้ เข้าถึงเจโตสมาธิอันไม่มีนิมิต
เพราะไม่ทำไว้ในใจซึ่งนิมิตทั้งหลาย แล้วแลอยู่ ; เป็นที่เชื่อได้ว่า
ท่านผู้มีอายุนี้ เมื่อเสพเสนาสนะที่สมควร คบกัลยาณมิตร บ่มอินทรีย์ทั้งหลายอยู้
ก็จะกระทำให้แจ้งซึ่งปริโยสานแห่งพรหมจรรย์นั้น อันไม่มีธรรมอื่นยิ่งกว่า
อันเป็นประโยชน์ที่ประสงค์ของกุลบุตรผูออกบวชจากเรือนเป็นผู้ไม่มีเรือน(เช่น บุคร ภรรยาสามี เป็นต้น)
อยู่โดยชอบ, ได้ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในทิฏฐธรรมนี้ เข้าถึงแล้วอยู่” ดังนี้.
- สตฺตก. อํ. ๒๓/๗๙/๕๓.
เมื่อเรายังไม่พบญาณ ก็ได้แล่นท่องเที่ยวไปในสงสาร(หลงทาง) เป็นอเนกชาติ, .......
แสวงหาอยู่ซึ่งนายช่างปลูกเรือน คือตัณหา ผู้สร้างภพ,
การเกิดทุกคราวเป็นทุกข์ร่ำไป.
นายช่างผู้ปลูกเรือนเอ๋ย ! ฉันรู้จักแกเสียแล้ว ; เจ้าจะทำเรือน
ให้เราไม่ได้อีกต่อไป. โครงเรือนทั้งหมดของเจ้า เราหักเสียแล้ว;
ยอดเรือน(อวิชชา)เราก็รื้อเสียแล้ว. จิตของเราถึงแล้ว (นิพพาน)
ซึ่งสภาพที่อะไรปรุงแต่งไม่ได้อีกต่อไป เพราะถึงความสิ้นไปแห่งตัณหาเสียแล้ว.
(ความรู้สึกในใจของผู้ชนะตัณหาได้ )
- ธ. ขุ. ๒๕/๓๕/๒๑.
ว่าด้วย ผู้อนิมิตตวิหารี
(ผู้อยู่ด้วยวิหารธรรมอันไม่มีนิมิต) แก่เธอดอกหรือ ?
“ข้าแต่พระผู้มีพระภาค ! บัดนี้เป็นกาลสมควรที่พระผู้มีพระภาค
จะทรงแสดงซึ่งบุคคลที่ 7 ผู้เป็นอนิมิตตวิหารี ;
ภิกษุทั้งหลายได้ฟังจากพระผู้มีพระภาคแล้ว จักทรงจำไว้”.
โมคคัลลานะ ! ภิกษุในกรณีนี้ เข้าถึงซึ่งเจโตสมาธิอันไม่มีนิมิต
เพราะไม่กระทำไว้ในใจซึ่งนิมิตทั้งปวง แล้วแลอยู่. เทวดาเหล่านั้น ถึง
ย่อมรู้จักภิกษุนั้นอย่างนี้ว่า “ท่านผู้มีอายุนี้ เข้าถึงเจโตสมาธิอันไม่มีนิมิต
เพราะไม่ทำไว้ในใจซึ่งนิมิตทั้งหลาย แล้วแลอยู่ ; เป็นที่เชื่อได้ว่า
ท่านผู้มีอายุนี้ เมื่อเสพเสนาสนะที่สมควร คบกัลยาณมิตร บ่มอินทรีย์ทั้งหลายอยู้
ก็จะกระทำให้แจ้งซึ่งปริโยสานแห่งพรหมจรรย์นั้น อันไม่มีธรรมอื่นยิ่งกว่า
อันเป็นประโยชน์ที่ประสงค์ของกุลบุตรผูออกบวชจากเรือนเป็นผู้ไม่มีเรือน(เช่น บุคร ภรรยาสามี เป็นต้น)
อยู่โดยชอบ, ได้ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในทิฏฐธรรมนี้ เข้าถึงแล้วอยู่” ดังนี้.
- สตฺตก. อํ. ๒๓/๗๙/๕๓.
เมื่อเรายังไม่พบญาณ ก็ได้แล่นท่องเที่ยวไปในสงสาร(หลงทาง) เป็นอเนกชาติ, .......
แสวงหาอยู่ซึ่งนายช่างปลูกเรือน คือตัณหา ผู้สร้างภพ,
การเกิดทุกคราวเป็นทุกข์ร่ำไป.
นายช่างผู้ปลูกเรือนเอ๋ย ! ฉันรู้จักแกเสียแล้ว ; เจ้าจะทำเรือน
ให้เราไม่ได้อีกต่อไป. โครงเรือนทั้งหมดของเจ้า เราหักเสียแล้ว;
ยอดเรือน(อวิชชา)เราก็รื้อเสียแล้ว. จิตของเราถึงแล้ว (นิพพาน)
ซึ่งสภาพที่อะไรปรุงแต่งไม่ได้อีกต่อไป เพราะถึงความสิ้นไปแห่งตัณหาเสียแล้ว.
(ความรู้สึกในใจของผู้ชนะตัณหาได้ )
- ธ. ขุ. ๒๕/๓๕/๒๑.