โพลนี้ควรสำรวจกลุ่มตัวอย่างใหม่ค่ะ เพื่อแก้ปัญหาความย้อนแย้งของผลสำรวจที่ได้มา
ด้านความคิดเห็นของประชาชนต่อกรณี หาก ส.ส. พรรคเศรษฐกิจใหม่ 4 คน จะย้ายขั้วไปสนับสนุนรัฐบาล พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา พบว่า
@ ส่วนใหญ่ ร้อยละ 49.80 ระบุว่า
ไม่เห็นด้วย เพราะ ไม่ยึดอุดมการณ์ของพรรค ไม่มีจุดยืน และผิดสัจจะจากที่หาเสียงไว้ รองลงมา ร้อยละ 35.19 ระบุว่า เห็นด้วย เพราะ เป็นประโยชน์ของประชาชน ทำให้เกิดความปรองดอง และมีจำนวน ส.ส. ฝ่ายรัฐบาลเพิ่มขึ้น เพื่อเสถียรภาพในการทำงานของรัฐบาล ร้อยละ 14.61 ระบุว่า เฉย ๆ ไม่สนใจ และร้อยละ 0.40 ระบุอื่น ๆ ได้แก่ ไม่มีรายละเอียดหรือข้อมูลเรื่องนี้ ไม่ได้ติดตามข่าวนี้ ขณะที่บางส่วนระบุว่า ไม่ทราบ/ไม่แน่ใจ
ส่วนความคิดเห็นของประชาชนต่อกรณี นายมงคลกิตติ์ สุขสินธารานนท์ หัวหน้าพรรคไทยศรีวิไลย์ ย้ายขั้วไปเป็นฝ่ายค้านอิสระ พบว่า
@ ส่วนใหญ่ ร้อยละ 50.52 ระบุว่า เห็นด้วย จะได้มี ส.ส. ฝ่ายค้านเพิ่มขึ้น มีจุดยืนเป็นของตนเอง และเพื่อเข้ามาตรวจสอบการทำงานของรัฐบาล รองลงมา ร้อยละ 25.10 ระบุว่า เฉย ๆ ไม่สนใจ ร้อยละ 23.27 ระบุว่า ไม่เห็นด้วย เพราะ เป็นนักการเมืองที่ใช้ไม่ได้ ไม่มีคุณธรรม เห็นแก่ประโยชน์ส่วนตนเป็นใหญ่ ขณะที่บางส่วนระบุว่า ไม่ชอบเป็นการส่วนตัว และร้อยละ 1.11 ระบุอื่น ๆ ได้แก่ ไม่มีรายละเอียดหรือข้อมูลเรื่องนี้ ไม่ได้ติดตามข่าวนี้ ขณะที่บางส่วนระบุว่า ไม่ทราบ/ไม่แน่ใจ
เมื่อถามถึงความคิดเห็นของประชาชนต่อกรณี นายรัฐภูมิ โตคงทรัพย์ (ฟิล์ม รัฐภูมิ) อดีตรองโฆษกพรรคพลังท้องถิ่นไท ย้ายขั้วไปเป็นสมาชิกพรรคเพื่อไทย พบว่า
@ ส่วนใหญ่ ร้อยละ 50.44 ระบุว่า
เห็นด้วย เพราะ ชอบพรรคที่ย้ายไปเป็นการส่วนตัว เป็นสิทธิส่วนบุคคลที่จะย้ายพรรคโดยไปอยู่กับพรรคที่มีอุดมการณ์เดียวกัน เป็นเรื่องธรรมดาของนักการเมืองในการย้ายพรรคอยู่แล้ว และเป็นการเพิ่มคนรุ่นใหม่ทางการเมือง รองลงมา ร้อยละ 25.97 ระบุว่า เฉย ๆ ไม่สนใจ ร้อยละ 22.95 ระบุว่า ไม่เห็นด้วย เพราะ ยังไม่เคยมีผลงานทางด้านการเมือง เห็นแก่ประโยชน์ส่วนตน และไม่มีจุดยืนที่ชัดเจน ขณะที่บางส่วนระบุว่า ไม่ชอบพรรคเพื่อไทย และร้อยละ 0.64 ระบุอื่น ๆ ได้แก่ ไม่มีรายละเอียดหรือข้อมูลเรื่องนี้ ขณะที่บางส่วนระบุว่า ไม่ทราบ
ท้ายที่สุด เมื่อถามถึงความคิดเห็นของประชาชนต่อกรณี หาก ส.ส. พรรคเพื่อไทยบางคน ย้ายขั้วไปสนับสนุนรัฐบาล พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา พบว่า
@ ส่วนใหญ่ ร้อยละ 53.14 ระบุว่า ไม่เห็นด้วย เพราะ ไม่มีจุดยืนที่ชัดเจน เห็นแก่ประโยชน์ส่วนตน และที่ได้รับเลือกเป็น ส.ส. ก็เพราะสังกัดพรรคเพื่อไทย จึงไม่ควรย้ายพรรค รองลงมา ร้อยละ 33.91 ระบุว่า เห็นด้วย เพราะ ทำให้มีจำนวน ส.ส. ฝ่ายรัฐบาลเพิ่มขึ้น เป็นสิทธิส่วนบุคคลที่จะย้ายพรรคไปอยู่กับพรรคที่มีอุดมการณ์เดียวกัน และรัฐบาลจะได้มีเสถียรภาพในการทำงานเพิ่มมากขึ้น ร้อยละ 12.71 ระบุว่า เฉย ๆ ไม่สนใจ และร้อยละ 0.24 ระบุว่า ไม่ทราบ/ไม่แน่ใจ
https://www.posttoday.com/politic/news/598647
มันแปลกๆค่ะ คนอ่านงานวิจัยมาเยอะ รู้สึกว่า ได้คำตอบผิดปกติจนน่าสะกิดใจนะคะ
🌷🌷มาลาริน/โพลนี้ควรสำรวจกลุ่มตัวอย่างใหม่ค่ะ เพื่อแก้ปัญหาความย้อนแย้งของผลสำรวจที่ได้มา
ด้านความคิดเห็นของประชาชนต่อกรณี หาก ส.ส. พรรคเศรษฐกิจใหม่ 4 คน จะย้ายขั้วไปสนับสนุนรัฐบาล พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา พบว่า
@ ส่วนใหญ่ ร้อยละ 49.80 ระบุว่า ไม่เห็นด้วย เพราะ ไม่ยึดอุดมการณ์ของพรรค ไม่มีจุดยืน และผิดสัจจะจากที่หาเสียงไว้ รองลงมา ร้อยละ 35.19 ระบุว่า เห็นด้วย เพราะ เป็นประโยชน์ของประชาชน ทำให้เกิดความปรองดอง และมีจำนวน ส.ส. ฝ่ายรัฐบาลเพิ่มขึ้น เพื่อเสถียรภาพในการทำงานของรัฐบาล ร้อยละ 14.61 ระบุว่า เฉย ๆ ไม่สนใจ และร้อยละ 0.40 ระบุอื่น ๆ ได้แก่ ไม่มีรายละเอียดหรือข้อมูลเรื่องนี้ ไม่ได้ติดตามข่าวนี้ ขณะที่บางส่วนระบุว่า ไม่ทราบ/ไม่แน่ใจ
ส่วนความคิดเห็นของประชาชนต่อกรณี นายมงคลกิตติ์ สุขสินธารานนท์ หัวหน้าพรรคไทยศรีวิไลย์ ย้ายขั้วไปเป็นฝ่ายค้านอิสระ พบว่า
@ ส่วนใหญ่ ร้อยละ 50.52 ระบุว่า เห็นด้วย จะได้มี ส.ส. ฝ่ายค้านเพิ่มขึ้น มีจุดยืนเป็นของตนเอง และเพื่อเข้ามาตรวจสอบการทำงานของรัฐบาล รองลงมา ร้อยละ 25.10 ระบุว่า เฉย ๆ ไม่สนใจ ร้อยละ 23.27 ระบุว่า ไม่เห็นด้วย เพราะ เป็นนักการเมืองที่ใช้ไม่ได้ ไม่มีคุณธรรม เห็นแก่ประโยชน์ส่วนตนเป็นใหญ่ ขณะที่บางส่วนระบุว่า ไม่ชอบเป็นการส่วนตัว และร้อยละ 1.11 ระบุอื่น ๆ ได้แก่ ไม่มีรายละเอียดหรือข้อมูลเรื่องนี้ ไม่ได้ติดตามข่าวนี้ ขณะที่บางส่วนระบุว่า ไม่ทราบ/ไม่แน่ใจ
เมื่อถามถึงความคิดเห็นของประชาชนต่อกรณี นายรัฐภูมิ โตคงทรัพย์ (ฟิล์ม รัฐภูมิ) อดีตรองโฆษกพรรคพลังท้องถิ่นไท ย้ายขั้วไปเป็นสมาชิกพรรคเพื่อไทย พบว่า
@ ส่วนใหญ่ ร้อยละ 50.44 ระบุว่า เห็นด้วย เพราะ ชอบพรรคที่ย้ายไปเป็นการส่วนตัว เป็นสิทธิส่วนบุคคลที่จะย้ายพรรคโดยไปอยู่กับพรรคที่มีอุดมการณ์เดียวกัน เป็นเรื่องธรรมดาของนักการเมืองในการย้ายพรรคอยู่แล้ว และเป็นการเพิ่มคนรุ่นใหม่ทางการเมือง รองลงมา ร้อยละ 25.97 ระบุว่า เฉย ๆ ไม่สนใจ ร้อยละ 22.95 ระบุว่า ไม่เห็นด้วย เพราะ ยังไม่เคยมีผลงานทางด้านการเมือง เห็นแก่ประโยชน์ส่วนตน และไม่มีจุดยืนที่ชัดเจน ขณะที่บางส่วนระบุว่า ไม่ชอบพรรคเพื่อไทย และร้อยละ 0.64 ระบุอื่น ๆ ได้แก่ ไม่มีรายละเอียดหรือข้อมูลเรื่องนี้ ขณะที่บางส่วนระบุว่า ไม่ทราบ
ท้ายที่สุด เมื่อถามถึงความคิดเห็นของประชาชนต่อกรณี หาก ส.ส. พรรคเพื่อไทยบางคน ย้ายขั้วไปสนับสนุนรัฐบาล พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา พบว่า
@ ส่วนใหญ่ ร้อยละ 53.14 ระบุว่า ไม่เห็นด้วย เพราะ ไม่มีจุดยืนที่ชัดเจน เห็นแก่ประโยชน์ส่วนตน และที่ได้รับเลือกเป็น ส.ส. ก็เพราะสังกัดพรรคเพื่อไทย จึงไม่ควรย้ายพรรค รองลงมา ร้อยละ 33.91 ระบุว่า เห็นด้วย เพราะ ทำให้มีจำนวน ส.ส. ฝ่ายรัฐบาลเพิ่มขึ้น เป็นสิทธิส่วนบุคคลที่จะย้ายพรรคไปอยู่กับพรรคที่มีอุดมการณ์เดียวกัน และรัฐบาลจะได้มีเสถียรภาพในการทำงานเพิ่มมากขึ้น ร้อยละ 12.71 ระบุว่า เฉย ๆ ไม่สนใจ และร้อยละ 0.24 ระบุว่า ไม่ทราบ/ไม่แน่ใจ
https://www.posttoday.com/politic/news/598647
มันแปลกๆค่ะ คนอ่านงานวิจัยมาเยอะ รู้สึกว่า ได้คำตอบผิดปกติจนน่าสะกิดใจนะคะ