ความมั่วเรื่อง "สัตตานัง" ของพระคึก ที่มั่วตั้งแต่คำศัพท์ยันเนื้อความ สงสารแต่คนหลงเชื่อว่าสิ่งที่พระคึกพูดคือพุทธวจนะของพระศาสดาจริงๆ
ที่มาข้อความ
http://watnaprapong.blogspot.com/2014/11/blog-post_12.html
---------
พระพุทธองค์ ทรงติเตียนพระสาติที่ตัดทอนถ้อยคำของพระองค์ไปสอนแก่ชาวบ้าน โดยตัดไปแต่เพียงคำว่า วิญญาณไปเกิด แต่ไม่ได้นำเอาคำสอนเรื่องปัจจัยที่ประชุมลงในวิญญาณนั้นไปสอนด้วย (ปฏิจสมุปบาท) ดังคำตรัสว่า "ดูกรโมฆบุรุษ วิญญาณอาศัยปัจจัยประชุมกันเกิดขึ้น เรากล่าวแล้วโดยปริยายเป็นอเนกมิใช่หรือ ความเกิดแห่งวิญญาณ เว้นจากปัจจัย มิได้มี "
ต่อมาท่านคึกฤทธิ์อ่านพระพุทธพจน์นี้แล้วไม่เข้าใจ จึงได้สอนลูกศิษย์ลูกหาว่า สัตว์ที่จับขันธ์ห้านั่นหล่ะไปเกิด สัตว์ที่จับขันธ์ห้าคืออะไร ท่านคึกฤทธิ์ไม่ได้อธิบายให้ลูกศิษย์เข้าใจ แต่จบความงงของลูกศิษย์ด้วยคำว่า "สัตตานัง" ง่ายดีแล้วให้ลูกศิษย์จำวาทะกรรมว่า "สัตตานังเป็นผู้ไปเกิด" แบบผิดๆ
ที่มาข้อความ
http://watnaprapong.blogspot.com/2014/11/blog-post_12.html
ความมั่วเรื่อง"สัตตานัง"ของพระคึกมั่วตั้งแต่คำศัพท์ยันเนื้อความ คนหลงเชื่อว่าสิ่งที่พระคึกพูดคือพุทธวจนะของพระศาสดาจริง
ที่มาข้อความ http://watnaprapong.blogspot.com/2014/11/blog-post_12.html
---------
พระพุทธองค์ ทรงติเตียนพระสาติที่ตัดทอนถ้อยคำของพระองค์ไปสอนแก่ชาวบ้าน โดยตัดไปแต่เพียงคำว่า วิญญาณไปเกิด แต่ไม่ได้นำเอาคำสอนเรื่องปัจจัยที่ประชุมลงในวิญญาณนั้นไปสอนด้วย (ปฏิจสมุปบาท) ดังคำตรัสว่า "ดูกรโมฆบุรุษ วิญญาณอาศัยปัจจัยประชุมกันเกิดขึ้น เรากล่าวแล้วโดยปริยายเป็นอเนกมิใช่หรือ ความเกิดแห่งวิญญาณ เว้นจากปัจจัย มิได้มี "
ต่อมาท่านคึกฤทธิ์อ่านพระพุทธพจน์นี้แล้วไม่เข้าใจ จึงได้สอนลูกศิษย์ลูกหาว่า สัตว์ที่จับขันธ์ห้านั่นหล่ะไปเกิด สัตว์ที่จับขันธ์ห้าคืออะไร ท่านคึกฤทธิ์ไม่ได้อธิบายให้ลูกศิษย์เข้าใจ แต่จบความงงของลูกศิษย์ด้วยคำว่า "สัตตานัง" ง่ายดีแล้วให้ลูกศิษย์จำวาทะกรรมว่า "สัตตานังเป็นผู้ไปเกิด" แบบผิดๆ
ที่มาข้อความ http://watnaprapong.blogspot.com/2014/11/blog-post_12.html