มารยาทบนโต๊ะอาหารแบบสากล
การเข้าโต๊ะอาหาร
– ควรนั่งตอนไหน? แขกไม่ควรจะนั่งจนกว่าเจ้าภาพหญิงและแขกผู้มีเกียรติจะนั่งแล้ว หรือจนเจ้าภาพเชิญให้นั่ง ถ้าเป็นผู้ชายก็ควรจะช่วยเลื่อนเก้าอี้ให้ผู้หญิงด้านขวาเข้านั่งก่อน
– วางแขนไว้ยังไงดี? เวลานั่งให้พยายามนั่งตัวตรง โดยวางมือไว้บนตักหรือวางเบาๆ บนโต๊ะ แต่อย่าไปวางข้อศอกบน โต๊ะล่ะ เพราะอาจเผลอกดโต๊ะพลิกได้ และยังทําให้ผู้อยู่ซ้ายและขวาพูดคุยกันไม่สะดวก
– เวลานั่งโต๊ะควรเลื่อนเก้าอี้ให้ตัวชิดกับโต๊ะมากที่สุด จะได้ไม่ต้องก้มหรือเอนตัวเยอะเวลาทานอาหาร
ระหว่างนั่งบนโต๊ะอาหาร
– ไม่ควรส่งต่ออาหารให้คนอื่น : หลังจากได้รับเสิร์ฟอาหารมาแล้ว อย่าส่งต่ออาหารให้คนอื่น เพราะการเสิร์ฟอาหารเป็นหน้าที่ของพนักงานเสิร์ฟ
– เมื่อพนักงานเสิร์ฟอาหารให้คุณแล้วอย่าเพิ่งรีบทาน ถึงแม้จะหิวขนาดไหนก็ตาม ควรจะรอให้ทุกคนได้รับอาหารจนครบก่อน และอย่าลืมรอให้เจ้าภาพเชิญให้ทานก่อนค่อยเริ่มลงมือ
– ไม่ควรแลกอาหารหรือแบ่งอาหารให้คนอื่นในโต๊ะ
– ถ้าอยากคายอาหาร ห้ามก้มลงคายในจานหรือคายใส่ผ้าเช็ดปากเด็ดขาด แต่ให้คายใส่ช้อนแบบเงียบ ๆ อย่าให้น่าเกลียด
– อย่าทานแต่อาหารจานที่เราชอบ แต่ควรทานอาหารที่เสิร์ฟทุกจาน
– อย่าเติมเครื่องปรุงก่อนชิมเด็ดขาด เพราะเป็นการดูถูกว่ารสอาหารที่ปรุงมาไม่พอดี
– ถ้าต้องการเกลือ พริกไทย หรือเครื่องปรุงอื่น ๆ ที่หยิบไม่ถึง ให้รบกวนคนร่วมโต๊ะช่วยส่งต่อ ๆ กันมาให้ อย่าได้เอื้อมหยิบลุกขึ้นยืนหยิบเชียวนะ เมื่อใช้เสร็จแล้วก็ควรส่งต่อไปทางขวาให้ช่วยเก็บที่เดิม
– ถ้าต้องการใส่ซอสหรือมัสตาร์ด ไม่ควรตักซอสราดลงบนอาหาร แต่ให้ปาดซอสมาไว้ที่มุมใดมุมหนึ่งของจาน เวลาทานค่อยใช้ปลายมีดแต้มซอสไปบนอาหาร
– ถ้ามีเศษอาหารติดฟันระหว่างกำลังทานอาหาร ห้ามใช้ไม้จิ้มฟันบนโต๊ะอาหารเด็ดขาด ทางที่ดีควรรอจนทานเสร็จแล้วค่อยไปจัดการในห้องน้ำ
– หากจ้าภาพเสนอให้เติมอาหาร ถ้าเรายังไม่อิ่มก็ไม่ต้องอายที่จะตอบรับนะคะ เพราะนั่นแสดงถึงความอร่อยของอาหาร (โดยเฉพาะถ้าเจ้าภาพ ทําอาหารเอง) แต่ถ้าไม่ไหวแล้วจริง ๆ ก็ปฏิเสธได้
ขอบคุณล่วงหน้าค่ะ
ใครเก่งภาษาอังกฤษช่วยแปลให้ทีค่ะ
การเข้าโต๊ะอาหาร
– ควรนั่งตอนไหน? แขกไม่ควรจะนั่งจนกว่าเจ้าภาพหญิงและแขกผู้มีเกียรติจะนั่งแล้ว หรือจนเจ้าภาพเชิญให้นั่ง ถ้าเป็นผู้ชายก็ควรจะช่วยเลื่อนเก้าอี้ให้ผู้หญิงด้านขวาเข้านั่งก่อน
– วางแขนไว้ยังไงดี? เวลานั่งให้พยายามนั่งตัวตรง โดยวางมือไว้บนตักหรือวางเบาๆ บนโต๊ะ แต่อย่าไปวางข้อศอกบน โต๊ะล่ะ เพราะอาจเผลอกดโต๊ะพลิกได้ และยังทําให้ผู้อยู่ซ้ายและขวาพูดคุยกันไม่สะดวก
– เวลานั่งโต๊ะควรเลื่อนเก้าอี้ให้ตัวชิดกับโต๊ะมากที่สุด จะได้ไม่ต้องก้มหรือเอนตัวเยอะเวลาทานอาหาร
ระหว่างนั่งบนโต๊ะอาหาร
– ไม่ควรส่งต่ออาหารให้คนอื่น : หลังจากได้รับเสิร์ฟอาหารมาแล้ว อย่าส่งต่ออาหารให้คนอื่น เพราะการเสิร์ฟอาหารเป็นหน้าที่ของพนักงานเสิร์ฟ
– เมื่อพนักงานเสิร์ฟอาหารให้คุณแล้วอย่าเพิ่งรีบทาน ถึงแม้จะหิวขนาดไหนก็ตาม ควรจะรอให้ทุกคนได้รับอาหารจนครบก่อน และอย่าลืมรอให้เจ้าภาพเชิญให้ทานก่อนค่อยเริ่มลงมือ
– ไม่ควรแลกอาหารหรือแบ่งอาหารให้คนอื่นในโต๊ะ
– ถ้าอยากคายอาหาร ห้ามก้มลงคายในจานหรือคายใส่ผ้าเช็ดปากเด็ดขาด แต่ให้คายใส่ช้อนแบบเงียบ ๆ อย่าให้น่าเกลียด
– อย่าทานแต่อาหารจานที่เราชอบ แต่ควรทานอาหารที่เสิร์ฟทุกจาน
– อย่าเติมเครื่องปรุงก่อนชิมเด็ดขาด เพราะเป็นการดูถูกว่ารสอาหารที่ปรุงมาไม่พอดี
– ถ้าต้องการเกลือ พริกไทย หรือเครื่องปรุงอื่น ๆ ที่หยิบไม่ถึง ให้รบกวนคนร่วมโต๊ะช่วยส่งต่อ ๆ กันมาให้ อย่าได้เอื้อมหยิบลุกขึ้นยืนหยิบเชียวนะ เมื่อใช้เสร็จแล้วก็ควรส่งต่อไปทางขวาให้ช่วยเก็บที่เดิม
– ถ้าต้องการใส่ซอสหรือมัสตาร์ด ไม่ควรตักซอสราดลงบนอาหาร แต่ให้ปาดซอสมาไว้ที่มุมใดมุมหนึ่งของจาน เวลาทานค่อยใช้ปลายมีดแต้มซอสไปบนอาหาร
– ถ้ามีเศษอาหารติดฟันระหว่างกำลังทานอาหาร ห้ามใช้ไม้จิ้มฟันบนโต๊ะอาหารเด็ดขาด ทางที่ดีควรรอจนทานเสร็จแล้วค่อยไปจัดการในห้องน้ำ
– หากจ้าภาพเสนอให้เติมอาหาร ถ้าเรายังไม่อิ่มก็ไม่ต้องอายที่จะตอบรับนะคะ เพราะนั่นแสดงถึงความอร่อยของอาหาร (โดยเฉพาะถ้าเจ้าภาพ ทําอาหารเอง) แต่ถ้าไม่ไหวแล้วจริง ๆ ก็ปฏิเสธได้
ขอบคุณล่วงหน้าค่ะ