จากเหตุการณ์ของตาชั่งที่เกิดขึ้นในปัจจุบันนี้ หรือเมื่อ 5-10 ปีก่อน (ที่จขกท เริ่มมีความรอบรู้เพียงพอที่ สมควรจะพิจารณาและตกผลึก)
ซึ่งมันเริ่มจากการมีตาชั่งยี่ห้อใหม่เข้ามา เพราะคนกลุ่มหนึ่งผลิตมันขึ้นมา
ที่ทำให้ร็สึกนึกย้อนไป เสมือนในหลายร้อยปีทีแล้ว การสืบความด้วยหลักฐาน หรือใช้หลักการใดๆให้ยึอถือค่อนข้างน้อยนิด
จะมีก็เพียงพยานจากคำบอกเล่า หรือไม่ก็ไม่มี เพราะมันหาลำบาก
สิ่งที่ใช้จึงมีเพียงจริตและความสำนึกของตาชั่งนั้นเป็นสิ่งวัดตวง ที่อยู่ในคำว่า"ดุลยพินิจ"ในสมัยนั้น ที่หาข้อสรุปชัดแจ้งกันยาก
แต่!!!!...ไม่เชื่อก็ต้องเชื่อที่ มันยังกล้า!!เอามาใช้ในปัจจุบัน ในเรื่องที่รู้ๆกันมีหลักฐานอย่างชัดแจ้ง
ซึ่งปัจจุบันเป็นโลกที่หาหลักฐานได้แค่ปลายนิ้ว สืบได้แม้กระทั่งสายสาแหรกครอบครัวของหมา!!!!!
แต่.....................เมื่อมันเกิดมาแล้ว
การที่รู้ว่าหมากโดนยักตาผิดช่อง หรือโกง แต่ก็ยังดันทุรังเดินกันต่อ(ด้วยความจำเป็น หรืออาจขี้เกียจ หรือมองโลกในแง่ดีเกินไป)
แล้วพอรู้ว่าจะแพ้ ก็มาล้มกระดานโละๆเล่นใหม่ ที่เดินไปแล้วไม่นับ....มันก็เป็นแค่วิธีการของพวกขี้แพ้!!!!
มันก็ต้องเล่นไปให้จบ เพลี่ยงพล้ำในเกมส์หมาก มันก็ต้องแก้ด้วยหมาก (แต่ก็มีไอ้ขี้แพ้หลายคนแก้ด้วยปืน 555+)
ฉะนั้น!!!! จากบทสรุปเหตุการณ์ทั้งมวล เราจึงชี้ชัดไปได้ว่าปัญหามันอยู่ที่
"ดุลยพินิจ" นี่แหละ (ไม่ใช่ตาชั่งใหม่อย่างเดียว ตาชั่งเก่าก็มีนะ)
ซึ่งจากแนวคิดเบื้องต้น ที่ทำให้เกิดระบอบประชาธิปไตยขึ้นมาบนโลกใบนี้ก็คือ
"ไม่มีใครรู้ เก่ง สามารถ และทำได้เหมาะสมในทุกเรื่อง"
มันจึงต้องมีการดีเบต ของประชา แลกเปลี่ยน เพื่อคัดเอาสิ่งที่ดีที่สุด (แม้แต่ราชาธิปไตยก็ยังต้องคัด ลูกคนที่ดีที่สุด)...bla bla ๆๆๆๆ... ฯลฯ
(เออ..ถ้ามีคนเก่งทุกเรื่อง ทำถูกทุกเรื่องทุกเวลา เมิงก็เป็นพระเจ้าเถอะ กุจะยอมอยู่ใน พระเจ้าธิปไตย ของเมิง)
ย้อนกลับมาที่คำว่า "ดุลยพินิจ" (ที่ต้องเคารพด้วยนะ!!)
เราจึงมีคำถามว่า ในทุกขณะนั้น"ดุลยพินิจ"ของคนพวกนี้ ที่ใช้เป็นสิ่งตวงวัดนั้น มันเหมาะสมแล้วหรือ
เขาก็ไม่ใช่พระเจ้า!!! เป็นคนเช่นเราๆหรือไม่? แล้วจะแก้อย่างไร??
ถ้าเป็นเมื่อก่อนคงคิดไม่ตก แต่ด้วยโลกที่เปลี่ยนไปอะไรๆก็เปลี่ยนตาม จากยากเป็นง่ายจากง่ายเป็นยาก.....
ผมจึงขอเสนอว่า
ในกรณีที่มีความสงสัยเคลือบแคงในการตัดสินนั้น เราต้องสามารถแย้งในคำตัดสินนั้นได้
ด้วยการนำคำตัดสินนั้น ออกสู่สาธารณะ
"ไม่ใช่เพื่อให้อ่านและยึดตามหรือเคารพเป็นบรรทัดฐาน"
แต่เพื่อให้คนเหมือนๆกันในอีกหลายๆหัว ที่พอจะมีความรู้เท่าทันได้ดีเบตร่วมกัน เพื่อพิจารณาความเหมาะสม
ซึ่งทุกคนสามารถเข้าถึงได้เพียงปลายนิ้ว ทางมือถือ(ซึ่งอาจจะวุ่นๆบ้างแน่นนอน)
ซึ่งหน้าที่สำคัญก็จะกลับไปสู่ผู้ใช้ดุลยพินิจ ว่าในคำตัดสินนั้น
"ต้องอธิบาย ให้ครอบคลุม ชัดเจน ให้บุคคลทุก ผู้ทุกเหล่า ที่มีความรู้ความสามารถทัดเทียมที่เข้าใจในสานส์นั้น สามารถสิ้นสงสัยได้"
ซึงไม่ใช่หน้าที่ๆเพิ่มเติมขึ้นแต่อย่างใด เพราะการใช้ดุลยพินิจในการตัดสินก็ต้องรอบคอบอยู่แล้ว คงไม่ได้ตัดสินไปส่งๆ ใช่มั้ยครับ
ขอเพียงอธิบายได้อย่างเหมาะสม ถึงที่มาที่ไปของดุลยพินิจ หรือสิ่งที่ใช้ตัดสิน ได้อย่างชัดแจ้ง มันก็คงไม่มีใครร้องให้วุ่นวายในทุกเรื่อง
และอย่างน้อย สังคมก็จะได้มีการแลกเปลี่ยนมากขึ้น รู้กันมากขึ้น เท่าทันกันมากขึ้น ปัญหามันก็จะน้อยลง
ส่วนในเรื่องของคณะทำงาน การคัดกรอง หรือวิธีการรื้อความ หรือการลงโทษผู้ที่ทำไม่เหมาะสมตามศักดินาหน้าที่
อันนั้นเป็นเรื่องในอนาคตของกรรมมาธิการร่าง ตามความเหมาะสมต่อไป
(ถ้าผมมีโอกาสได้รับใช้ ผมทำแน่นนอนเรื่องนี้ เอ้า!!! หาเสียงไว้ก่อนเลย 5555+)
ปัญหาจากกระบวนการ ชั่ง ตวง วัด นี่มันมีมานานแล้วครับ ไม่ใช่เพิ่งมี
แต่เพียงตอนนี้มันเอียงกระเท่เร่จนเราทนความทุเรศไม่ไหว ก็จึงต้องสะกิดกันบ้าง
และอย่างที่กล่าวจริงๆแล้วมันคือต้นตอสำคัญที่ส่งต่อมาอีกหลายๆปัญหาครับ
หรือทุกท่านคิดเห็นเป็นเช่นไรบ้างครับ
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ขออณุญาติ ยกบทความที่ผมเขียนไว้หลายปีที่แล้วมาให้อ่านนะครับ มันช่างอกาลิโก..เสียจริง
"อยากให้คนใหญ่กว่า เพราะอยู่นานได้รู้ว่า ต้นตอของความขัดแย้งนั้นมันไม่ได้เกิดฐานราก
แต่มันเกิดจากปลายยอดที่เรียกว่า ความยุติธรรม
หากที่ใดมีความยุติธรรม ให้ผู้คนในที่แห่งนั้นเชื่อมั่น ผู้ที่ปกติก็ย่อมไม่ทำอะไรที่ไม่เหมาะสม
เพราะมั่นใจว่าเขาจะต้องได้รับความยุติธรรม
ผู้ที่ไม่ปกติก็จะไม่กล้าทำอะไรไม่เหมาะสม เพราะสุดท้ายก็จะไม่ได้ผลอย่างที่ตั้งใจ
เพราะจะถูกตัดสินด้วยความยุติธรรม
แต่ในที่ๆมีคนบางจำพวกที่อยากทำอะไรก็ทำ จนเกิดความขัดแย้งนั้น เพราะในที่นั้นไม่มีความยุติธรรม
คนปกติพึ่งความยุติธรรมไม่ได้ จึงต้องพึ่งตนเอง บางเรื่องคิดไม่ครบ รู้ไม่ครบจึงไม่เหมาะสม
แล้วคนผิดปกติก็ไม่กลัวที่จะทำไม่เหมาะสม เพราะคิดว่าสามารถเบี่ยงเบนความยุติธรรมนั้นได้
ฉะนั้นการแก้ไขความขัดแย้ง จึงไม่ใช่การจับแยกคู่ขัดแย้งไม่ให้เจอกัน
แต่มันคือการให้ความยุติธรรมแก่พวกเขา และ"อธิบายตามความจริงให้เขาเข้าใจอย่างสิ้นสงสัย"ได้
คนที่เป็นคนปกติจึงจะยอมสงบอยู่ภายใต้ความยุติธรรม
และคนไม่ปกติก็จะไม่สามารถ ทำอะไรที่นอกกรอบความยุติธรรมได้
สุดท้ายนี้ อยากบอกว่า
ถนนเก็บไว้ให้รถมันวิ่งก็พอนะครับ
กระบวนการของตาชั่ง ที่เป็นต้นตอและฝังรากความขัดแย้ง มาในDNAของคนไทย
ซึ่งมันเริ่มจากการมีตาชั่งยี่ห้อใหม่เข้ามา เพราะคนกลุ่มหนึ่งผลิตมันขึ้นมา
ที่ทำให้ร็สึกนึกย้อนไป เสมือนในหลายร้อยปีทีแล้ว การสืบความด้วยหลักฐาน หรือใช้หลักการใดๆให้ยึอถือค่อนข้างน้อยนิด
จะมีก็เพียงพยานจากคำบอกเล่า หรือไม่ก็ไม่มี เพราะมันหาลำบาก
สิ่งที่ใช้จึงมีเพียงจริตและความสำนึกของตาชั่งนั้นเป็นสิ่งวัดตวง ที่อยู่ในคำว่า"ดุลยพินิจ"ในสมัยนั้น ที่หาข้อสรุปชัดแจ้งกันยาก
แต่!!!!...ไม่เชื่อก็ต้องเชื่อที่ มันยังกล้า!!เอามาใช้ในปัจจุบัน ในเรื่องที่รู้ๆกันมีหลักฐานอย่างชัดแจ้ง
ซึ่งปัจจุบันเป็นโลกที่หาหลักฐานได้แค่ปลายนิ้ว สืบได้แม้กระทั่งสายสาแหรกครอบครัวของหมา!!!!!
แต่.....................เมื่อมันเกิดมาแล้ว
การที่รู้ว่าหมากโดนยักตาผิดช่อง หรือโกง แต่ก็ยังดันทุรังเดินกันต่อ(ด้วยความจำเป็น หรืออาจขี้เกียจ หรือมองโลกในแง่ดีเกินไป)
แล้วพอรู้ว่าจะแพ้ ก็มาล้มกระดานโละๆเล่นใหม่ ที่เดินไปแล้วไม่นับ....มันก็เป็นแค่วิธีการของพวกขี้แพ้!!!!
มันก็ต้องเล่นไปให้จบ เพลี่ยงพล้ำในเกมส์หมาก มันก็ต้องแก้ด้วยหมาก (แต่ก็มีไอ้ขี้แพ้หลายคนแก้ด้วยปืน 555+)
ฉะนั้น!!!! จากบทสรุปเหตุการณ์ทั้งมวล เราจึงชี้ชัดไปได้ว่าปัญหามันอยู่ที่ "ดุลยพินิจ" นี่แหละ (ไม่ใช่ตาชั่งใหม่อย่างเดียว ตาชั่งเก่าก็มีนะ)
ซึ่งจากแนวคิดเบื้องต้น ที่ทำให้เกิดระบอบประชาธิปไตยขึ้นมาบนโลกใบนี้ก็คือ "ไม่มีใครรู้ เก่ง สามารถ และทำได้เหมาะสมในทุกเรื่อง"
มันจึงต้องมีการดีเบต ของประชา แลกเปลี่ยน เพื่อคัดเอาสิ่งที่ดีที่สุด (แม้แต่ราชาธิปไตยก็ยังต้องคัด ลูกคนที่ดีที่สุด)...bla bla ๆๆๆๆ... ฯลฯ
(เออ..ถ้ามีคนเก่งทุกเรื่อง ทำถูกทุกเรื่องทุกเวลา เมิงก็เป็นพระเจ้าเถอะ กุจะยอมอยู่ใน พระเจ้าธิปไตย ของเมิง)
ย้อนกลับมาที่คำว่า "ดุลยพินิจ" (ที่ต้องเคารพด้วยนะ!!)
เราจึงมีคำถามว่า ในทุกขณะนั้น"ดุลยพินิจ"ของคนพวกนี้ ที่ใช้เป็นสิ่งตวงวัดนั้น มันเหมาะสมแล้วหรือ
เขาก็ไม่ใช่พระเจ้า!!! เป็นคนเช่นเราๆหรือไม่? แล้วจะแก้อย่างไร??
ถ้าเป็นเมื่อก่อนคงคิดไม่ตก แต่ด้วยโลกที่เปลี่ยนไปอะไรๆก็เปลี่ยนตาม จากยากเป็นง่ายจากง่ายเป็นยาก.....
ผมจึงขอเสนอว่า
ในกรณีที่มีความสงสัยเคลือบแคงในการตัดสินนั้น เราต้องสามารถแย้งในคำตัดสินนั้นได้
ด้วยการนำคำตัดสินนั้น ออกสู่สาธารณะ "ไม่ใช่เพื่อให้อ่านและยึดตามหรือเคารพเป็นบรรทัดฐาน"
แต่เพื่อให้คนเหมือนๆกันในอีกหลายๆหัว ที่พอจะมีความรู้เท่าทันได้ดีเบตร่วมกัน เพื่อพิจารณาความเหมาะสม
ซึ่งทุกคนสามารถเข้าถึงได้เพียงปลายนิ้ว ทางมือถือ(ซึ่งอาจจะวุ่นๆบ้างแน่นนอน)
ซึ่งหน้าที่สำคัญก็จะกลับไปสู่ผู้ใช้ดุลยพินิจ ว่าในคำตัดสินนั้น
"ต้องอธิบาย ให้ครอบคลุม ชัดเจน ให้บุคคลทุก ผู้ทุกเหล่า ที่มีความรู้ความสามารถทัดเทียมที่เข้าใจในสานส์นั้น สามารถสิ้นสงสัยได้"
ซึงไม่ใช่หน้าที่ๆเพิ่มเติมขึ้นแต่อย่างใด เพราะการใช้ดุลยพินิจในการตัดสินก็ต้องรอบคอบอยู่แล้ว คงไม่ได้ตัดสินไปส่งๆ ใช่มั้ยครับ
ขอเพียงอธิบายได้อย่างเหมาะสม ถึงที่มาที่ไปของดุลยพินิจ หรือสิ่งที่ใช้ตัดสิน ได้อย่างชัดแจ้ง มันก็คงไม่มีใครร้องให้วุ่นวายในทุกเรื่อง
และอย่างน้อย สังคมก็จะได้มีการแลกเปลี่ยนมากขึ้น รู้กันมากขึ้น เท่าทันกันมากขึ้น ปัญหามันก็จะน้อยลง
ส่วนในเรื่องของคณะทำงาน การคัดกรอง หรือวิธีการรื้อความ หรือการลงโทษผู้ที่ทำไม่เหมาะสมตามศักดินาหน้าที่
อันนั้นเป็นเรื่องในอนาคตของกรรมมาธิการร่าง ตามความเหมาะสมต่อไป
(ถ้าผมมีโอกาสได้รับใช้ ผมทำแน่นนอนเรื่องนี้ เอ้า!!! หาเสียงไว้ก่อนเลย 5555+)
ปัญหาจากกระบวนการ ชั่ง ตวง วัด นี่มันมีมานานแล้วครับ ไม่ใช่เพิ่งมี
แต่เพียงตอนนี้มันเอียงกระเท่เร่จนเราทนความทุเรศไม่ไหว ก็จึงต้องสะกิดกันบ้าง
และอย่างที่กล่าวจริงๆแล้วมันคือต้นตอสำคัญที่ส่งต่อมาอีกหลายๆปัญหาครับ
หรือทุกท่านคิดเห็นเป็นเช่นไรบ้างครับ
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ขออณุญาติ ยกบทความที่ผมเขียนไว้หลายปีที่แล้วมาให้อ่านนะครับ มันช่างอกาลิโก..เสียจริง
"อยากให้คนใหญ่กว่า เพราะอยู่นานได้รู้ว่า ต้นตอของความขัดแย้งนั้นมันไม่ได้เกิดฐานราก
แต่มันเกิดจากปลายยอดที่เรียกว่า ความยุติธรรม
หากที่ใดมีความยุติธรรม ให้ผู้คนในที่แห่งนั้นเชื่อมั่น ผู้ที่ปกติก็ย่อมไม่ทำอะไรที่ไม่เหมาะสม
เพราะมั่นใจว่าเขาจะต้องได้รับความยุติธรรม
ผู้ที่ไม่ปกติก็จะไม่กล้าทำอะไรไม่เหมาะสม เพราะสุดท้ายก็จะไม่ได้ผลอย่างที่ตั้งใจ
เพราะจะถูกตัดสินด้วยความยุติธรรม
แต่ในที่ๆมีคนบางจำพวกที่อยากทำอะไรก็ทำ จนเกิดความขัดแย้งนั้น เพราะในที่นั้นไม่มีความยุติธรรม
คนปกติพึ่งความยุติธรรมไม่ได้ จึงต้องพึ่งตนเอง บางเรื่องคิดไม่ครบ รู้ไม่ครบจึงไม่เหมาะสม
แล้วคนผิดปกติก็ไม่กลัวที่จะทำไม่เหมาะสม เพราะคิดว่าสามารถเบี่ยงเบนความยุติธรรมนั้นได้
ฉะนั้นการแก้ไขความขัดแย้ง จึงไม่ใช่การจับแยกคู่ขัดแย้งไม่ให้เจอกัน
แต่มันคือการให้ความยุติธรรมแก่พวกเขา และ"อธิบายตามความจริงให้เขาเข้าใจอย่างสิ้นสงสัย"ได้
คนที่เป็นคนปกติจึงจะยอมสงบอยู่ภายใต้ความยุติธรรม
และคนไม่ปกติก็จะไม่สามารถ ทำอะไรที่นอกกรอบความยุติธรรมได้
สุดท้ายนี้ อยากบอกว่า
ถนนเก็บไว้ให้รถมันวิ่งก็พอนะครับ