ผมเข้าใจว่า กฎหมายค้ำประกัน
ถูกออกแบบมาเพื่อลดความเสี่ยงของเจ้าหนี้/ผู้ประกอบการ โดยมีผู้ค้ำเป็นตัวลดความเสี่ยง ผมเข้าใจถูกไหมครับ ?
จากเดิมที่ผู้ประกอบการจะปล่อยสินเชื่อ ฯ ยากมาก และต้องตรวจสอบคุณสมบัติทางการเงินอย่างละเอียดเพื่อลดความเสี่ยง
แต่เมื่อมีกฎหมายค้ำประกันเข้ามา จะทำให้ความเสี่ยงลดลงด้วยผู้ค้ำ เหมือนมีลูกหนี้สำรอง
โดยมีผู้ค้ำหลายรายตกอยู่ในสถานะ "แพะรับหนี้แทน" ในเมื่อการเป็นผู้ค้ำประกันมีความเสี่ยงแล้ว
ผู้ค้ำประกันจะได้รับผลประโยชน์อะไรบ้าง จากการค้ำ นอกจากความเสี่ยงที่ต้องเป็นลูกหนี้แทนแล้วบ้าง
ซึ่งถ้ามองจากภาพรวม ณ ตอนนี้ผมยังไม่เห็นข้อดีของการเป็นผู้ค้ำเลย นอกจากที่เจ้าหนี้/ผู้ประกอบการและลูกหนี้จะได้รับ
แท้จริงแล้ว กฎหมายค้ำประกันนี้ ถูกออกแบบมาด้วยเหตุผลหรือวัตถุประสงค์ใดครับ ?
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้ปล. ผมไม่ได้เป็นเจ้าหนี้ลูกหนี้หรือผู้ค้ำแต่อย่างใด แต่อยากศึกษาเอาไว้เผื่ออนาคตมีแนวโน้มกลายเป็นผู้ค้ำ จะได้ตัดสินใจได้เฉียบขาดครับ
กฎหมายค้ำประกัน ออกแบบมาเพื่ออะไรครับ ?
ถูกออกแบบมาเพื่อลดความเสี่ยงของเจ้าหนี้/ผู้ประกอบการ โดยมีผู้ค้ำเป็นตัวลดความเสี่ยง ผมเข้าใจถูกไหมครับ ?
จากเดิมที่ผู้ประกอบการจะปล่อยสินเชื่อ ฯ ยากมาก และต้องตรวจสอบคุณสมบัติทางการเงินอย่างละเอียดเพื่อลดความเสี่ยง
แต่เมื่อมีกฎหมายค้ำประกันเข้ามา จะทำให้ความเสี่ยงลดลงด้วยผู้ค้ำ เหมือนมีลูกหนี้สำรอง
โดยมีผู้ค้ำหลายรายตกอยู่ในสถานะ "แพะรับหนี้แทน" ในเมื่อการเป็นผู้ค้ำประกันมีความเสี่ยงแล้ว
ผู้ค้ำประกันจะได้รับผลประโยชน์อะไรบ้าง จากการค้ำ นอกจากความเสี่ยงที่ต้องเป็นลูกหนี้แทนแล้วบ้าง
ซึ่งถ้ามองจากภาพรวม ณ ตอนนี้ผมยังไม่เห็นข้อดีของการเป็นผู้ค้ำเลย นอกจากที่เจ้าหนี้/ผู้ประกอบการและลูกหนี้จะได้รับ
แท้จริงแล้ว กฎหมายค้ำประกันนี้ ถูกออกแบบมาด้วยเหตุผลหรือวัตถุประสงค์ใดครับ ?
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้