นาย A ต้องการกู้ยืมเพื่อทำธุรกิจจำนวน2ล้านบาท จึงมาขอยืมผม โดยตกลงดอกเบี้ยกันที่ 2% ต่อเดือน
ผมมีเงินแค่ 500,000(ไม่พอ) จึงไปยืมเงินอีก 1.5 ล้านจากนาย B ซึ่งเป็นเพื่อนสนิท
B ว่าเขาไม่รู้จักA เวลาทวงหนี้ จะทวง(หนี้1.5ล้าน)กับผมแทน โดยนำโฉนดของผมจดจำนองค้ำประกัน(คิดดอกเบี้ย 1.5 %ต่อเดือน)
ผมรวบรวมเงิน(2ล้าน)ไปให้ A โดยที่ A ก็นำโฉนดของA มาจดจำนองค้ำประกันผมแทน
เมื่อถึงเวลา จ่ายภาษี ผมจะไปจ่ายสรรพากร ก็ว่า ต่องคิดรายได้จากยอดเงิน 300,000 (มาจาก 15%ของ2ล้าน)
ผมก็กำลังจะจ่าย แต่ทำไมเงินเหลือไม่พอจ่ายภาษี
B ก็บอกผมว่า “ได้เงินมา 40,000(2%ต่อเดือน) แต่เอามาให้กู 22,500(1.5%ต่อเดือน)ไง”
ผมจึงอธิบาย สรรพากรพร้อมเอกสารจดจำนองที่ดิน ว่ารายได้จริงคือ 17,500 ต่อเดือน
สรรพากรบอกไม่เชื่อ ผมว่า ก็มีเอกสารจากสนง.ที่ดิน ทำไมคุณเชื่อว่าผมมีรายได้จากการรับจดจำนอง แต่ไม่มีรายจ่ายจากการไปจดจำนอง ทั้งๆที่ออกจาก ที่เดียวกัน เขาก็ว่าเข้าใจแล้ว แต่เพราะมันเป็นข้อกฎหมาย จึงต้องคิดว่าคุณมีรายได้ 300,000 เต็ม
ผมคิดว่า ยอดรายได้จากเงินต้น 2ล้าน คือ 30,000(สรรพากรจะคิด15%ต่อปี) ดังนั้นในเมื่อเงินก้อนเดิมๆ รายได้ก็ได้เดิมๆคือ 30,000
แล้วถ้าคุณเก็บผมในส่วนรายได้ที่เกิดขึ้นจริงคือ 17,500/ด. แล้วไปเก็บB จากรายได้จริงคือ 22,500/ด. น่าจะถูกต้องตามจริง
สรรพากรว่า เขาจะเก็บจากผม คิดรายได้ 300,000/ปี(15%ของ2ล้าน)
แล้วไปเก็บ B คิดรายได้225,000/ปี(15%ของ1.5ล้าน)
ผมว่าแบบนี้ ยอดเงินรายได้ก็เกินจากยอดจริงสิ (เท่ากับยอดเงินต้น กลายเป็น 3.5ล้านสิ มาจาก 2ล้าน+1.5ล้าน)
ถ้า B ไปยืม C
C ไปยืม D
Dไปยืม E
แล้วคิดภาษีโดยไม่ลบ ดอกเบี้ยที่ต้องไปจ่ายให้นายทุน
เท่ากับยอดเงินก้อนนี้อาจทะลุ ถึง10ล้านก็ได้ (15%ของ 10ล้าน คือ1.5ล้าน)
1.5ล้านสูงกว่า รายได้จริง แล้วจะเอาเงินที่ไหนมาจ่าย
สรรพากรตอบว่า เข้าใจ แต่จะต้องคิดแบบนี้
คำถามคือ สรรพากรหลอกเราไหม มันไม่เมคเซ้นต์เลย
เงินกู้กับการเสียภาษี
ผมมีเงินแค่ 500,000(ไม่พอ) จึงไปยืมเงินอีก 1.5 ล้านจากนาย B ซึ่งเป็นเพื่อนสนิท
B ว่าเขาไม่รู้จักA เวลาทวงหนี้ จะทวง(หนี้1.5ล้าน)กับผมแทน โดยนำโฉนดของผมจดจำนองค้ำประกัน(คิดดอกเบี้ย 1.5 %ต่อเดือน)
ผมรวบรวมเงิน(2ล้าน)ไปให้ A โดยที่ A ก็นำโฉนดของA มาจดจำนองค้ำประกันผมแทน
เมื่อถึงเวลา จ่ายภาษี ผมจะไปจ่ายสรรพากร ก็ว่า ต่องคิดรายได้จากยอดเงิน 300,000 (มาจาก 15%ของ2ล้าน)
ผมก็กำลังจะจ่าย แต่ทำไมเงินเหลือไม่พอจ่ายภาษี
B ก็บอกผมว่า “ได้เงินมา 40,000(2%ต่อเดือน) แต่เอามาให้กู 22,500(1.5%ต่อเดือน)ไง”
ผมจึงอธิบาย สรรพากรพร้อมเอกสารจดจำนองที่ดิน ว่ารายได้จริงคือ 17,500 ต่อเดือน
สรรพากรบอกไม่เชื่อ ผมว่า ก็มีเอกสารจากสนง.ที่ดิน ทำไมคุณเชื่อว่าผมมีรายได้จากการรับจดจำนอง แต่ไม่มีรายจ่ายจากการไปจดจำนอง ทั้งๆที่ออกจาก ที่เดียวกัน เขาก็ว่าเข้าใจแล้ว แต่เพราะมันเป็นข้อกฎหมาย จึงต้องคิดว่าคุณมีรายได้ 300,000 เต็ม
ผมคิดว่า ยอดรายได้จากเงินต้น 2ล้าน คือ 30,000(สรรพากรจะคิด15%ต่อปี) ดังนั้นในเมื่อเงินก้อนเดิมๆ รายได้ก็ได้เดิมๆคือ 30,000
แล้วถ้าคุณเก็บผมในส่วนรายได้ที่เกิดขึ้นจริงคือ 17,500/ด. แล้วไปเก็บB จากรายได้จริงคือ 22,500/ด. น่าจะถูกต้องตามจริง
สรรพากรว่า เขาจะเก็บจากผม คิดรายได้ 300,000/ปี(15%ของ2ล้าน)
แล้วไปเก็บ B คิดรายได้225,000/ปี(15%ของ1.5ล้าน)
ผมว่าแบบนี้ ยอดเงินรายได้ก็เกินจากยอดจริงสิ (เท่ากับยอดเงินต้น กลายเป็น 3.5ล้านสิ มาจาก 2ล้าน+1.5ล้าน)
ถ้า B ไปยืม C
C ไปยืม D
Dไปยืม E
แล้วคิดภาษีโดยไม่ลบ ดอกเบี้ยที่ต้องไปจ่ายให้นายทุน
เท่ากับยอดเงินก้อนนี้อาจทะลุ ถึง10ล้านก็ได้ (15%ของ 10ล้าน คือ1.5ล้าน)
1.5ล้านสูงกว่า รายได้จริง แล้วจะเอาเงินที่ไหนมาจ่าย
สรรพากรตอบว่า เข้าใจ แต่จะต้องคิดแบบนี้
คำถามคือ สรรพากรหลอกเราไหม มันไม่เมคเซ้นต์เลย