ใช้โยนิโสมนสิการพิจารณาธรรมต่างๆ
โยนิโสมนสิการ (proper attention; systematic attention having thorough method in one's) คือ การคิดพิจารณาตั้งแต่ต้นเหตุไปถึงผล ผลไปถึงเหตุ ให้ครบวงจรตามภาวะจริงแท้แห่งธรรม
โยนิโสมนสิการ เป็นกระบวนการคิดพิจารณา วิเคราะห์ วินิจฉัย สรุปผล
ตัวโยนิโสมนสิการ หมายความว่า การวิเคราะห์ว่า เป็นเหตุและผล ผลไปถึงเหตุ เป็นวงกลมไม่มีที่สิ้นสุด และไม่ตัวต้นและไม่มีตัวปลาย
สูงกว่าปรมัตถ์ คือ ไม่มีเหตุและไม่มีผล
งงไหม?
ในธรรมปรมัตถ์ได้แต่ดำรงอยู่เฉยๆ ไม่มีเหตุไม่มีผล มาจากไหนก็ไม่รู้ ดำรงอยู่อย่างนั้น ต่อเมื่อเราเริ่มจะมีเหตุและผล นั่นแหละ เริ่มเดินทางแล้ว เริ่มเดินทางแล้วถึงจะออกมาเป็นเต๋า
แต่ที่ดำรงไว้ ไม่มีชื่อ ไม่มีอะไร ไม่มีสิ่งอะไรที่จะเปรียบเทียบได้ เขาเรียกว่า "บ่อเก๊ก" (无极) มีอยู่ ตราบใดเริ่มเหตุและผล คือ อย่างนี้เขาเรียกว่าการเดินทางแล้ว เป็นเต๋า (道) แล้ว
โยนิโสมนสิการ คือ มาดูที่เต๋า แต่ไม่สามารถดูบ่อเก๊กได้ สูงขึ้นไปอีกหนึ่งขั้น
อริยสัจ ๔ (The Four Noble Truths) เป็นเหตุและผล ที่เป็นรูปข้างนอก ชัดเจน ปลายๆ ชาวบ้านทั่วไปจะต้องรู้แล้ว ไม่ใช่ผู้ที่ศึกษาปรมัตถ์ที่จะรู้กัน เพราะอริยสัจ ๔ เปรียบเสมือนนิ้วก้อยอยู่ในมือ
ขอความเคารพ หากผู้รู้มีสิ่งชี้แนะ น้อมรับฟังเสมอ และขอความกรุณาแย้ง ชี้แจง ชี้แนะ แม้แต่ต้องการให้เพิ่มเติมสิ่งใด ก็ขอได้บอกมา
อ.พรหมสิทธิ์ ทิพย์ธาดาวงศ์
ใช้โยนิโสมนสิการพิจารณาธรรมต่างๆ
โยนิโสมนสิการ (proper attention; systematic attention having thorough method in one's) คือ การคิดพิจารณาตั้งแต่ต้นเหตุไปถึงผล ผลไปถึงเหตุ ให้ครบวงจรตามภาวะจริงแท้แห่งธรรม
โยนิโสมนสิการ เป็นกระบวนการคิดพิจารณา วิเคราะห์ วินิจฉัย สรุปผล
ตัวโยนิโสมนสิการ หมายความว่า การวิเคราะห์ว่า เป็นเหตุและผล ผลไปถึงเหตุ เป็นวงกลมไม่มีที่สิ้นสุด และไม่ตัวต้นและไม่มีตัวปลาย
สูงกว่าปรมัตถ์ คือ ไม่มีเหตุและไม่มีผล
งงไหม?
ในธรรมปรมัตถ์ได้แต่ดำรงอยู่เฉยๆ ไม่มีเหตุไม่มีผล มาจากไหนก็ไม่รู้ ดำรงอยู่อย่างนั้น ต่อเมื่อเราเริ่มจะมีเหตุและผล นั่นแหละ เริ่มเดินทางแล้ว เริ่มเดินทางแล้วถึงจะออกมาเป็นเต๋า
แต่ที่ดำรงไว้ ไม่มีชื่อ ไม่มีอะไร ไม่มีสิ่งอะไรที่จะเปรียบเทียบได้ เขาเรียกว่า "บ่อเก๊ก" (无极) มีอยู่ ตราบใดเริ่มเหตุและผล คือ อย่างนี้เขาเรียกว่าการเดินทางแล้ว เป็นเต๋า (道) แล้ว
โยนิโสมนสิการ คือ มาดูที่เต๋า แต่ไม่สามารถดูบ่อเก๊กได้ สูงขึ้นไปอีกหนึ่งขั้น
อริยสัจ ๔ (The Four Noble Truths) เป็นเหตุและผล ที่เป็นรูปข้างนอก ชัดเจน ปลายๆ ชาวบ้านทั่วไปจะต้องรู้แล้ว ไม่ใช่ผู้ที่ศึกษาปรมัตถ์ที่จะรู้กัน เพราะอริยสัจ ๔ เปรียบเสมือนนิ้วก้อยอยู่ในมือ
ขอความเคารพ หากผู้รู้มีสิ่งชี้แนะ น้อมรับฟังเสมอ และขอความกรุณาแย้ง ชี้แจง ชี้แนะ แม้แต่ต้องการให้เพิ่มเติมสิ่งใด ก็ขอได้บอกมา
อ.พรหมสิทธิ์ ทิพย์ธาดาวงศ์