สร้างในปี พ.ศ. 1971 สมัยพระเจ้าสามฝั่งแกน พระราชบิดาพระเจ้าติโลกราช
เดิมชื่อ วัดสระเกษ
อยู่ฝั่งตะวันออกของแม่น้ำปิงตรงข้ามกาดต้นลำใย ตรงกับสะพานจันทร์สม
วิหาร
ผังสี่เหลี่ยมยกเก็จผนัง
หลังคา 7 ซด(หหน้า 4 หลัง 3) 2 ตับ
ช่อฟ้านกหัสดีลิงค์ ใบระกา หางหงส์รูปนาคเบือน
ทางขึ้นวิหารด้านทิศใต้ แสดงหลักศิลาจารึกที่ขุดพบในปี 2513
มีจารึก 2 ด้านแต่ด้านที่ 1 ถูกลบหมดเหลือแต่ดวงโหรจารึก
ด้านที่ 2 ก็ลบเลือนมาก กล่าวถึง จ.ศ. 943 (2124)ได้มีพิธีฉลองพระเกสธาตุเจดีย์
ซึ่งอยู่ในสมัยของ พระเจ้าสาวถีนรตรามังซอศรีมังสรธาช่อ(ราชบุตรของพระเจ้าบุเรงนองที่ครองเชียงใหม่)
ผนังด้านหลังวิหาร ตกแต่งลายดอกไม้และหม้อดอก
หน้าบันลายหม้อดอก
บันไดมกรคายนาค
ทวารบาล ... เทวดาถือคัมภีร์
ภายใน
ธรรมมาสน์บุษบก ... ไม่เคยเห็นพระท่านเทศน์บนนี้สักที
พระอุโบสถ
ขนาด 6 ห้องผังสี่เหลี่ยมไม่ยกเก็จผนัง
หลังคา 3 ซด (ซ้อนมาด้านหน้า 2 ข้างหลัง 1), 2 ตับ(แผงด้านข้างซ้อนสองชั้น)
เหนือหน้าต่างมีรูปกงล้อพระธรรมในซุ้มนาค เหนือขึ้นไปเป็นสถูป
บานหน้าต่างเขียนด้วยลายคำ
หน้าบันลายพฤกษา สลับกระจกสี
ลำยองนาค-ใบระกา-นาคเบือน
ทวารบาล เทพพนมยืนบนดอกบัวเหนือหัวยักษ์
ข้างประตูบนสุดคือ
กิเลน >>> ลวง?
เป็นสัตว์หิมพานต์ของจีน ... ที่เชียงใหม่มีคนจีนเข้ามาอยู่มาก
หัวเป็นมังกร มีเขาเหมือนกวาง หางเหมือนวัว มีกีบเหมือนม้า
ถัดลงมาเป็น ตัวมอม เป็นสัตว์จินตนาการของชาวล้านนา
บ้างก็ว่าครึ่งเสือครึ่งลิง บ้างก็ว่าครึ่งเสือครึ่งแมว ... มีกรงเล็บ
ในตำนานล้านนา
มอมเป็นเทพบุตรพาหนะของ ปัชชุนนะเทวบุตร หรือ วัสสา-วลาหกะ แปลว่า เมฆฝน
ในสมัยพุทธกาลแคว้นโกศลภัยแล้งอย่างหนัก พระพุทธองค์ทรงบันดาลให้พระอินทร์ทราบ
พระอินทร์ ... ราชาแห่งเทพ จึงได้บัญชาให้ปัชชุนนะเทวบุตร บันดาลให้ฝนตก
เทพบุตรพาหนะของเทพปัชชุนนะ เมื่อมาสู่เมืองมนุษย์ จะต้องเนรมิตกายเป็นตัวมอม
เมื่อเห็นมนุษย์สวดอ้อนวอนขอฝน ก็ฮึกเหิมในเทวฤทธิ์ หลงสำคัญตนผิด ฤทธิ์เสื่อมลง ไม่อาจกลับคืนสู่ร่างเทพบุตรและกลับสู่สวรรค์ได้
จึงต้องเฝ้าอยู่หน้าพุทธสถานทั้งหลาย เพื่อปกปักรักษาศาสนสถานและฟังธรรมเรื่อยไป
จนกว่าจะละกิเลส ละอัตตา จึงจะสามารถกลับคืนสู่เทวสภาพดังเดิม
บันไดมกรคายนาค
มกรจากทับหลังถาลาปริวัติ คือ ช้าง มีหางเป็นปลา ว่ายน้ำได้ กินกล้วยเป็นอาหาร มีงวง มีงาซึ่งงาจะพัฒนาไปเป็นเขี้ยว
ต่อมาคงพัฒนาไปมีเล็บอุ้งเท้าที่อยู่ใต้ปาก ... มั้ง
ทำไมต้องคายนาค เล่าว่า
บ้างว่าเมื่อมกรกลืนกินทุกอย่าง แต่เมื่อกลืนเข้าไปแล้วเห็นว่าเป็นนาคจึงต้องคาย
เพราอาณาจักรโยนกมีนาคมาช่วยสร้าง
ภายหลังชาวเมืองโยนกกินปลาไหลเผือก ที่เชื่อว่าเป็นนาคแผ่นดินนี้จึงล่มจมหาย
และเรื่องเล่าอื่น ๆ อีกมากมาย
ตำราพื้นเมืองโบราณล้านนาว่าไว้ว่า
ก่อนที่วิญญาณจะมาปฏิสนธิในครรภ์มารดา
วิญญาณจะลงมา ชุธาตุ ... มาพักที่เจดีย์หนึ่งก่อน (ธาตุภาษาล้านนาแปลว่าเจดีย์)
โดย ตั๋วเปิ้ง ภาษากลาง ตัวพึ่ง(คือตัวที่เป็นที่พึ่ง) คือสัตว์ประจำนักษัตรพามาพักไว้
แล้ววิญญาณจะเคลื่อนจากเจดีย์ ไปสถิตบนกระหม่อมของบิดาเป็นเวลา 7 วัน
แล้วเคลื่อนเข้าสู่ครรภ์ของมารดา
และเมื่อเสียชีวิตลง วิญญาณก็จะกลับไปพักอยู่ที่เจดีย์ก่อน ไม่ต้องเร่ร่อนไปไหน ก่อนจะไปยังที่ของตนต่อไป
เจดีย์พระเกศแก้วจุฬามณี
ตำนานว่า เจดีย์จุฬามณีประดิษฐานอยู่บนสวรรค์ชั้นดาวดึงส์
บรรจุเครื่องทรงและพระเมาลี ( มวยผม )ของเจ้าชายสิทธัตถะ เมื่ออกผนวช
เพื่อให้ได้กราบไหว้บูชา พระอินทร์จึงนำพระเกศแก้วจุฬามณี มาแขวนไว้บนหน้าผา
เรียกพระธาตุดอยอินทร์แขวน พระธาตุประจำปีเกิดปีจอ
และการที่พระเกศพ้องกับคำว่าสระเกษ หรือ วัดเกตการาม
ผู้เกิดปีจอจึงไม่ต้องไปถึงพระธาตุอินทร์แขวน
ยอดพระเจดีย์จะเอียง ไม่ตั้งตรงไปบนท้องฟ้า คล้ายความเชื่อของมอญ
ฉัตร ปลี ปล้องไฉน ก้านฉัตร บัลลังก์ (สี่เหลี่ยมย่อมุม)
องค์ระฆัง
ฐานปัทม์ มีซุ้มพระเจ้าทั้งสี่ด้าน
ฐานเขียงทีฐานประทักษิณ ตรงมุมเป็นเจดีย์
และครุฑยุดนาค
นาคพาดลงมาที่บันไดลานประทักษิณ
ซุ้มพระเจ้าประดิษฐานพระพุทธรูปยืน 4 ปาง
หอไตร
เป็นแบบหอสูง โครงสร้างครึ่งตึกครึ่งไม้ มีมุขด้านหน้า
มีระเบียงล้อมรอบห้องที่ใช้เก็บรักษาคัมภีร์ คือเมื่อเข้าไปข้างในจะมีระเบียงโดยรอบห้องอีกที
มีชายคาปีกนกป้องกันฝนสาด
หอระฆัง
กุฏิ เป็นเรือนไม้ มีฝาไหลคือช่องหน้าต่างใช้การไหลเพื่อเปิดปิด
โรงเรียนพระปริยัติธรรม สร้างปี 2462
พิพิธภัณฑ์ในวัดเกต
เดิมเป็นศาลาบาตร
พระพุทธรูปจากพม่า
คัมภีร์ จารด้วยตั๋วเมือง ... ตัวอักษรพื้นเมือง
มีทั้งวัตถุทั่วไป และวัตถุที่ไม่เคยเห็น
ไม่ทราบว่าคืออะไร
เตาหน้างู
พราหมณ์ใช้เผ่าเครื่องบูชาในศาสนาฮินดู
น้ำทุ๊ง ใช้ผูกเชือกตักน้ำในบ่อ
นาคสะดุ้ง
วัดที่สร้างในสมัยพญาสามฝั่งแกน ... วัดเกตการาม
เดิมชื่อ วัดสระเกษ
อยู่ฝั่งตะวันออกของแม่น้ำปิงตรงข้ามกาดต้นลำใย ตรงกับสะพานจันทร์สม
วิหาร
ผังสี่เหลี่ยมยกเก็จผนัง
หลังคา 7 ซด(หหน้า 4 หลัง 3) 2 ตับ
ช่อฟ้านกหัสดีลิงค์ ใบระกา หางหงส์รูปนาคเบือน
ทางขึ้นวิหารด้านทิศใต้ แสดงหลักศิลาจารึกที่ขุดพบในปี 2513
มีจารึก 2 ด้านแต่ด้านที่ 1 ถูกลบหมดเหลือแต่ดวงโหรจารึก
ด้านที่ 2 ก็ลบเลือนมาก กล่าวถึง จ.ศ. 943 (2124)ได้มีพิธีฉลองพระเกสธาตุเจดีย์
ซึ่งอยู่ในสมัยของ พระเจ้าสาวถีนรตรามังซอศรีมังสรธาช่อ(ราชบุตรของพระเจ้าบุเรงนองที่ครองเชียงใหม่)
ผนังด้านหลังวิหาร ตกแต่งลายดอกไม้และหม้อดอก
หน้าบันลายหม้อดอก
บันไดมกรคายนาค
ทวารบาล ... เทวดาถือคัมภีร์
ภายใน
ธรรมมาสน์บุษบก ... ไม่เคยเห็นพระท่านเทศน์บนนี้สักที
พระอุโบสถ
ขนาด 6 ห้องผังสี่เหลี่ยมไม่ยกเก็จผนัง
หลังคา 3 ซด (ซ้อนมาด้านหน้า 2 ข้างหลัง 1), 2 ตับ(แผงด้านข้างซ้อนสองชั้น)
เหนือหน้าต่างมีรูปกงล้อพระธรรมในซุ้มนาค เหนือขึ้นไปเป็นสถูป
บานหน้าต่างเขียนด้วยลายคำ
หน้าบันลายพฤกษา สลับกระจกสี
ลำยองนาค-ใบระกา-นาคเบือน
ทวารบาล เทพพนมยืนบนดอกบัวเหนือหัวยักษ์
ข้างประตูบนสุดคือ
กิเลน >>> ลวง?
เป็นสัตว์หิมพานต์ของจีน ... ที่เชียงใหม่มีคนจีนเข้ามาอยู่มาก
หัวเป็นมังกร มีเขาเหมือนกวาง หางเหมือนวัว มีกีบเหมือนม้า
ถัดลงมาเป็น ตัวมอม เป็นสัตว์จินตนาการของชาวล้านนา
บ้างก็ว่าครึ่งเสือครึ่งลิง บ้างก็ว่าครึ่งเสือครึ่งแมว ... มีกรงเล็บ
ในตำนานล้านนา
มอมเป็นเทพบุตรพาหนะของ ปัชชุนนะเทวบุตร หรือ วัสสา-วลาหกะ แปลว่า เมฆฝน
ในสมัยพุทธกาลแคว้นโกศลภัยแล้งอย่างหนัก พระพุทธองค์ทรงบันดาลให้พระอินทร์ทราบ
พระอินทร์ ... ราชาแห่งเทพ จึงได้บัญชาให้ปัชชุนนะเทวบุตร บันดาลให้ฝนตก
เทพบุตรพาหนะของเทพปัชชุนนะ เมื่อมาสู่เมืองมนุษย์ จะต้องเนรมิตกายเป็นตัวมอม
เมื่อเห็นมนุษย์สวดอ้อนวอนขอฝน ก็ฮึกเหิมในเทวฤทธิ์ หลงสำคัญตนผิด ฤทธิ์เสื่อมลง ไม่อาจกลับคืนสู่ร่างเทพบุตรและกลับสู่สวรรค์ได้
จึงต้องเฝ้าอยู่หน้าพุทธสถานทั้งหลาย เพื่อปกปักรักษาศาสนสถานและฟังธรรมเรื่อยไป
จนกว่าจะละกิเลส ละอัตตา จึงจะสามารถกลับคืนสู่เทวสภาพดังเดิม
บันไดมกรคายนาค
มกรจากทับหลังถาลาปริวัติ คือ ช้าง มีหางเป็นปลา ว่ายน้ำได้ กินกล้วยเป็นอาหาร มีงวง มีงาซึ่งงาจะพัฒนาไปเป็นเขี้ยว
ต่อมาคงพัฒนาไปมีเล็บอุ้งเท้าที่อยู่ใต้ปาก ... มั้ง
ทำไมต้องคายนาค เล่าว่า
บ้างว่าเมื่อมกรกลืนกินทุกอย่าง แต่เมื่อกลืนเข้าไปแล้วเห็นว่าเป็นนาคจึงต้องคาย
เพราอาณาจักรโยนกมีนาคมาช่วยสร้าง
ภายหลังชาวเมืองโยนกกินปลาไหลเผือก ที่เชื่อว่าเป็นนาคแผ่นดินนี้จึงล่มจมหาย
และเรื่องเล่าอื่น ๆ อีกมากมาย
ตำราพื้นเมืองโบราณล้านนาว่าไว้ว่า
ก่อนที่วิญญาณจะมาปฏิสนธิในครรภ์มารดา
วิญญาณจะลงมา ชุธาตุ ... มาพักที่เจดีย์หนึ่งก่อน (ธาตุภาษาล้านนาแปลว่าเจดีย์)
โดย ตั๋วเปิ้ง ภาษากลาง ตัวพึ่ง(คือตัวที่เป็นที่พึ่ง) คือสัตว์ประจำนักษัตรพามาพักไว้
แล้ววิญญาณจะเคลื่อนจากเจดีย์ ไปสถิตบนกระหม่อมของบิดาเป็นเวลา 7 วัน
แล้วเคลื่อนเข้าสู่ครรภ์ของมารดา
และเมื่อเสียชีวิตลง วิญญาณก็จะกลับไปพักอยู่ที่เจดีย์ก่อน ไม่ต้องเร่ร่อนไปไหน ก่อนจะไปยังที่ของตนต่อไป
เจดีย์พระเกศแก้วจุฬามณี
ตำนานว่า เจดีย์จุฬามณีประดิษฐานอยู่บนสวรรค์ชั้นดาวดึงส์
บรรจุเครื่องทรงและพระเมาลี ( มวยผม )ของเจ้าชายสิทธัตถะ เมื่ออกผนวช
เพื่อให้ได้กราบไหว้บูชา พระอินทร์จึงนำพระเกศแก้วจุฬามณี มาแขวนไว้บนหน้าผา
เรียกพระธาตุดอยอินทร์แขวน พระธาตุประจำปีเกิดปีจอ
และการที่พระเกศพ้องกับคำว่าสระเกษ หรือ วัดเกตการาม
ผู้เกิดปีจอจึงไม่ต้องไปถึงพระธาตุอินทร์แขวน
ยอดพระเจดีย์จะเอียง ไม่ตั้งตรงไปบนท้องฟ้า คล้ายความเชื่อของมอญ
ฉัตร ปลี ปล้องไฉน ก้านฉัตร บัลลังก์ (สี่เหลี่ยมย่อมุม)
องค์ระฆัง
ฐานปัทม์ มีซุ้มพระเจ้าทั้งสี่ด้าน
ฐานเขียงทีฐานประทักษิณ ตรงมุมเป็นเจดีย์
และครุฑยุดนาค
นาคพาดลงมาที่บันไดลานประทักษิณ
ซุ้มพระเจ้าประดิษฐานพระพุทธรูปยืน 4 ปาง
หอไตร
เป็นแบบหอสูง โครงสร้างครึ่งตึกครึ่งไม้ มีมุขด้านหน้า
มีระเบียงล้อมรอบห้องที่ใช้เก็บรักษาคัมภีร์ คือเมื่อเข้าไปข้างในจะมีระเบียงโดยรอบห้องอีกที
มีชายคาปีกนกป้องกันฝนสาด
หอระฆัง
กุฏิ เป็นเรือนไม้ มีฝาไหลคือช่องหน้าต่างใช้การไหลเพื่อเปิดปิด
โรงเรียนพระปริยัติธรรม สร้างปี 2462
พิพิธภัณฑ์ในวัดเกต
เดิมเป็นศาลาบาตร
พระพุทธรูปจากพม่า
คัมภีร์ จารด้วยตั๋วเมือง ... ตัวอักษรพื้นเมือง
มีทั้งวัตถุทั่วไป และวัตถุที่ไม่เคยเห็น
ไม่ทราบว่าคืออะไร
เตาหน้างู
พราหมณ์ใช้เผ่าเครื่องบูชาในศาสนาฮินดู
น้ำทุ๊ง ใช้ผูกเชือกตักน้ำในบ่อ
นาคสะดุ้ง