สุดยอดความคิดเห็น
ความคิดเห็นที่ 15
เรื่องนี้ .... ชักจะเริ่มเป็น ดราม่า เล็ก ๆ ขึ้นมาแล้ว โดยเฉพาะในประเด็นที่ว่า ....
หน่วย SEAL ของเราขาดการวางแผน จนทำให้นักดำน้ำในถ้ำทั้งสี่คนคือ Jason Mallinson , Chris Jewell
Rick Stanton และ John Volanthen ต้องนำถังอากาศมาให้กับซีลทั้งสี่นายในขณะที่ดำน้ำมารับเด็กๆ ด้วย
เรื่องนี้ ผมดูข่าว ThaiPBS เมื่อค่ำนี้ สัมภาษณ์ พล.ร.ต.อาภากร อยู่คงแก้ว ผบ.นสร.
ครูอาภากร ชี้แจงว่า ทางกงศุลอังกฤษได้ติดต่อมาอย่างเร่งด่วน และกล่าว "ขอโทษ"
ในการสื่อสาร หรือ แปลบทสัมภาษณ์อันก่อดราม่าในวรรคบนนี้ครับ ครูอาภากรท่านบอกว่า
กรณีถังอากาศ เนี่ย มันเป็นการแบ่งงานกันทำ SEAL ทีมของเรามีแผนจะเตรียมของเราอยู่แล้วนะ
แต่ทางนักดำน้ำ 4 ท่านนั้นอาจเข้าใจผิด ดังนั้น ทาง SEAL ของเรามิได้มีการผิดแผนแต่อย่างใดเลย
ส่วนเรื่องที่นักดำน้ำวิจารณ์ SEAL team ของเรา ก็เป็นเรื่องจริง เรามีอุปกรณ์แค่นั้นจริง ๆ
เพราะหน่วย SEAL กองทัพเรือไทย ถูกฝึกมาให้มี skill ดำน้ำในระดับ Advance SCUBA diving
แต่บวกความสามารถในด้านการก่อวินาศกรรม + หาข่าว เข้าไปด้วยครับ พูดง่าย ๆ คือ เน้นไปที่
ปฏิบัติการทางทหาร มิใช่การกู้ภัย หรือ ดำน้ำถ้ำ (Cave diving) .... ดังนั้น อุปกรณ์มาตรฐาน
ของ SEAL เรา จึงแตกต่างกับทีมดำน้ำอังกฤษมากมาย ของเค้ามีชุด backup ทั้งหมดเลย
ถังก็ 2 ถัง Regulator ก็ 2 อัน ไฟฉายพร้อม .... อันนี้เราก็ยอมรับ และไม่ได้มองว่าเป็นความบกพร่องของเราเลย
การที่ทีมอังกฤษไปให้สัมภาณ์กับ BBC แบบนั้น ผมคิดว่าไม่แฟร์เท่าไหร่ เพราะพวกเขาวิจารณ์
กฏความปลอดภัยของ SEAL team เสียอย่างกับว่า SEAL เป็นทีมนักดำถ้ำของประเทศไทย
ผมว่า พวกเค้าลืมไปว่าเราให้ SEAL ของ ทร. มาทำงานนี้เพราะนี่คือ The best ของเราเท่าที่หาได้
และเรามิใช่นักดำน้ำถ้ำ .... ดังนั้น เค้าน่าจะวิจารณ์ให้ถูกทางมากกว่านี้ครับ
และการที่ จขกท.บอกว่า การที่ให้นักดำน้ำต่างชาติเป็นแนวหน้าเป็นการตัดสินใจที่ถูกต้องสินะครับ
ใช่ครับ เป็นการตัดสินใจที่ถูกต้องแล้ว เพราะทีมต่างชาติชุดนั้นคือ The best ของโลก
หากเราไม่ให้พวกเขาเป็นแนวหน้า ก็พลาดเต็มทีแล้ว แต่....อยากจะให้ จขกท.เข้าใจว่า
ทั้งหมดทั้งมวล SEAL team ของเราไม่ได้พลาดอะไรนะครับ เพียงแต่เราไม่ได้เป็น Specialist แบบเค้า เท่านั้นเอง
หน่วย SEAL ของเราขาดการวางแผน จนทำให้นักดำน้ำในถ้ำทั้งสี่คนคือ Jason Mallinson , Chris Jewell
Rick Stanton และ John Volanthen ต้องนำถังอากาศมาให้กับซีลทั้งสี่นายในขณะที่ดำน้ำมารับเด็กๆ ด้วย
เรื่องนี้ ผมดูข่าว ThaiPBS เมื่อค่ำนี้ สัมภาษณ์ พล.ร.ต.อาภากร อยู่คงแก้ว ผบ.นสร.
ครูอาภากร ชี้แจงว่า ทางกงศุลอังกฤษได้ติดต่อมาอย่างเร่งด่วน และกล่าว "ขอโทษ"
ในการสื่อสาร หรือ แปลบทสัมภาษณ์อันก่อดราม่าในวรรคบนนี้ครับ ครูอาภากรท่านบอกว่า
กรณีถังอากาศ เนี่ย มันเป็นการแบ่งงานกันทำ SEAL ทีมของเรามีแผนจะเตรียมของเราอยู่แล้วนะ
แต่ทางนักดำน้ำ 4 ท่านนั้นอาจเข้าใจผิด ดังนั้น ทาง SEAL ของเรามิได้มีการผิดแผนแต่อย่างใดเลย
ส่วนเรื่องที่นักดำน้ำวิจารณ์ SEAL team ของเรา ก็เป็นเรื่องจริง เรามีอุปกรณ์แค่นั้นจริง ๆ
เพราะหน่วย SEAL กองทัพเรือไทย ถูกฝึกมาให้มี skill ดำน้ำในระดับ Advance SCUBA diving
แต่บวกความสามารถในด้านการก่อวินาศกรรม + หาข่าว เข้าไปด้วยครับ พูดง่าย ๆ คือ เน้นไปที่
ปฏิบัติการทางทหาร มิใช่การกู้ภัย หรือ ดำน้ำถ้ำ (Cave diving) .... ดังนั้น อุปกรณ์มาตรฐาน
ของ SEAL เรา จึงแตกต่างกับทีมดำน้ำอังกฤษมากมาย ของเค้ามีชุด backup ทั้งหมดเลย
ถังก็ 2 ถัง Regulator ก็ 2 อัน ไฟฉายพร้อม .... อันนี้เราก็ยอมรับ และไม่ได้มองว่าเป็นความบกพร่องของเราเลย
การที่ทีมอังกฤษไปให้สัมภาณ์กับ BBC แบบนั้น ผมคิดว่าไม่แฟร์เท่าไหร่ เพราะพวกเขาวิจารณ์
กฏความปลอดภัยของ SEAL team เสียอย่างกับว่า SEAL เป็นทีมนักดำถ้ำของประเทศไทย
ผมว่า พวกเค้าลืมไปว่าเราให้ SEAL ของ ทร. มาทำงานนี้เพราะนี่คือ The best ของเราเท่าที่หาได้
และเรามิใช่นักดำน้ำถ้ำ .... ดังนั้น เค้าน่าจะวิจารณ์ให้ถูกทางมากกว่านี้ครับ
และการที่ จขกท.บอกว่า การที่ให้นักดำน้ำต่างชาติเป็นแนวหน้าเป็นการตัดสินใจที่ถูกต้องสินะครับ
ใช่ครับ เป็นการตัดสินใจที่ถูกต้องแล้ว เพราะทีมต่างชาติชุดนั้นคือ The best ของโลก
หากเราไม่ให้พวกเขาเป็นแนวหน้า ก็พลาดเต็มทีแล้ว แต่....อยากจะให้ จขกท.เข้าใจว่า
ทั้งหมดทั้งมวล SEAL team ของเราไม่ได้พลาดอะไรนะครับ เพียงแต่เราไม่ได้เป็น Specialist แบบเค้า เท่านั้นเอง
ความคิดเห็นที่ 20
มันคนละเรื่องกันครับ หน่วยซีลไม่ว่าจะเป็นของประเทศไหน เขาก็ไม่ได้ชำนาญในการกู้ภัย
แต่ที่เราเรียกมาใช้ เพราะทีมกู้ภัยไทยในตอนนั้นไม่มีใครอึกพอจะดำน้ำได้
จึงขอแรงหน่วยซีลมาช่วยก่อน เพราะหน่วยนี้ขึ้นชื่อเรื่องความอึดในการว่ายน้ำ-ดำน้ำ
เหนือคนธรรมดา ซึ่งจากผลงานคราวนี้พวกเขาก็ทำผลงานได้ดีกว่าที่คาดไว้เยอะ
ส่วนนักดำน้ำถ้ำ ถูกฝึกมาให้ดำน้ำในถ้ำที่มืดๆโดยเฉพาะ เรียกวาาแค่เอามือแตะผนังถ้ำ
ขณะดำน้ำ ก็วาดจินตนาการรูปแบบโพรงในถ้ำในสมองตัวเองได้เลย
และก็มีอุปกรณ์เฉพาะทาง ถังอากาศสำหรับดำน้ำในถ้ำ ซึ่งเราไม่มีตรงจุดนี้
ก็ต้องยอมรับว่าทีมต่างชาติเขาพร้อมกว่าสำหรับภารกิจแบบนี้
แต่ถ้าให้ทีมดำน้ำถ้ำจากต่างชาติ มามัดมือมัดเท้าถีบลงทะเลแล้วว่ายกลับเข้าฝั่ง
คาดว่าคงไม่รอด แต่ถ้าเป็นซีลเขาเอาตัวรอดได้แน่ๆ
หรือจะให้แบกปืนหนักๆอย่าง M82 หรือ ไรเฟิลจู่โจมG36 ว่ายน้ำดำน้ำตัวเปล่า
เป็นไมล์ทะเล ลอบขึ้นฝั่งข้าศึก แล้วไปเปิดพื้นที่เพื่อให้นาวิกโยธินขึ้นฝั่งได้
งานแบบนี้นักดำน้ำทำได้รึเปล่าล่ะครับ
เขาถูกฝึกมาคนละสายงานกันสิ้นเชิง ความเก่ง ความเชี่ยวชาญก็คนละด้าน
แต่ในภารกิจถ้ำหลวงที่ยากลำบาก อะไรที่ทำได้ ใครที่ทำอะไรได้แล้วมีประโยชน์
ก็ระดมมาใช้หมดนั่นแหละครับ
แต่ที่เราเรียกมาใช้ เพราะทีมกู้ภัยไทยในตอนนั้นไม่มีใครอึกพอจะดำน้ำได้
จึงขอแรงหน่วยซีลมาช่วยก่อน เพราะหน่วยนี้ขึ้นชื่อเรื่องความอึดในการว่ายน้ำ-ดำน้ำ
เหนือคนธรรมดา ซึ่งจากผลงานคราวนี้พวกเขาก็ทำผลงานได้ดีกว่าที่คาดไว้เยอะ
ส่วนนักดำน้ำถ้ำ ถูกฝึกมาให้ดำน้ำในถ้ำที่มืดๆโดยเฉพาะ เรียกวาาแค่เอามือแตะผนังถ้ำ
ขณะดำน้ำ ก็วาดจินตนาการรูปแบบโพรงในถ้ำในสมองตัวเองได้เลย
และก็มีอุปกรณ์เฉพาะทาง ถังอากาศสำหรับดำน้ำในถ้ำ ซึ่งเราไม่มีตรงจุดนี้
ก็ต้องยอมรับว่าทีมต่างชาติเขาพร้อมกว่าสำหรับภารกิจแบบนี้
แต่ถ้าให้ทีมดำน้ำถ้ำจากต่างชาติ มามัดมือมัดเท้าถีบลงทะเลแล้วว่ายกลับเข้าฝั่ง
คาดว่าคงไม่รอด แต่ถ้าเป็นซีลเขาเอาตัวรอดได้แน่ๆ
หรือจะให้แบกปืนหนักๆอย่าง M82 หรือ ไรเฟิลจู่โจมG36 ว่ายน้ำดำน้ำตัวเปล่า
เป็นไมล์ทะเล ลอบขึ้นฝั่งข้าศึก แล้วไปเปิดพื้นที่เพื่อให้นาวิกโยธินขึ้นฝั่งได้
งานแบบนี้นักดำน้ำทำได้รึเปล่าล่ะครับ
เขาถูกฝึกมาคนละสายงานกันสิ้นเชิง ความเก่ง ความเชี่ยวชาญก็คนละด้าน
แต่ในภารกิจถ้ำหลวงที่ยากลำบาก อะไรที่ทำได้ ใครที่ทำอะไรได้แล้วมีประโยชน์
ก็ระดมมาใช้หมดนั่นแหละครับ
ความคิดเห็นที่ 40
จากมุมมองของผม ซึ่งโดยอาชีพการงานประจำ อยู่ในสายงานความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม รวมทั้งเป็นครูสอนดำน้ำเพื่อการสันทนาการด้วยนะครับ..
1. เราใช้หน่วย Seal เข้าปฏิบัติงานในช่วงแรก เพราะเป็น As good as you can get คือ ดีที่สุดเท่าที่จะหาได้ ณ เวลานั้น เนื่องจากหน่วยราชการไทย (เฉพาะหน่วยงานราชการนะ) ไม่ได้มีหน่วยงานที่มีความรู้ด้านงานใต้น้ำมากนัก ทหารเรือ เป็นหน่วยราชการที่มีจำนวนนักดำน้ำมากที่สุด อุปกรณ์พร้อมที่สุด และหน่วย Seal คือหน่วยที่มีกำลังพลที่มีความชำนาญในงานใต้น้ำสูงสุด ที่มีอยู่ในไทย ณ เวลาที่เริ่มต้นปฏิบัติการ
2. อย่างไรก็ตาม งานปกติของหน่วยซีล เป็นงานในทะเลเปิด หรือน่านน้ำเปิด ไม่ใช่ในสภาพ Overhead Environment (สภาพสิ่งแวดล้อมที่มีสิ่งกีดขวางไม่ให้ขึ้นไปผิวน้ำได้) แบบในถ้ำ แม้แต่การดำน้ำเพื่อสันทนาการนั้น มีหลักสูตรการดำน้ำเพื่อดูเรือจม (Wreck Diving) แต่ก็จะยังไม่มีเนื้อหาในส่วนของการเข้าพื้นที่ Overhead Environment แต่จะเป็นการดูจากภายนอก หรือเข้าไปในระยะสั้นๆ ถ้าจะมุดลอดเข้าข้างในตัวเรือ จะต้องเป็นหลักสูตรพิเศษ Wreck Penetration อีกชั้นหนึ่ง ซึ่งต้องมีการเตรียมตัว เรื่องอุปกรณ์ และทักษะต่างๆ เกือบเท่ากับการดำน้ำในถ้ำ
3. นักดำน้ำในถ้ำ ในเมืองไทย มีครับ มีทั้งคนไทย และคนต่างชาติ แต่มีอยู่ไม่มาก กระจายกันอยู่ จำนวนเท่าที่ผมรู้นี่ไม่น่าเกิน 50 คน เท่าที่ทราบไม่มีใครอยู่หน่วยงานราชการ ดังนั้นโดยการบริหารจัดการของภาคราชการไทย ไม่สามารถเรียกคนกลุ่มนี้เข้ามาได้ เว้นแต่เขาจะเข้ามาเสนอตัว ซึ่งเขาก็เข้าไปกันนะ ส่วนหนึ่งไปพร้อมกับทีมของคุณ นรินทร ณ บางช้าง ซึ่งจากกลุ่มแรกที่ไปพร้อมกับคุณนรินทรฯ ก็ได้เรียกตัวคนอื่นๆ ตามมาสมทบกันในภายหลัง
4. จากข้อ 2 และ 3 นำไปสู่ความแตกต่างของความรู้ ทักษะ การวางแผน และกำลังพล Seal ไทย ก็ทำงานตามขีดความสามารถของตัวเอง เท่าที่อุปกรณ์และความรู้ของตัวเองมี ต่อมา เมื่อทีมนักดำน้ำถ้ำภาคเอกชน ทั้งที่บินมาจากอังกฤษ และจากหลายๆ ที่ในไทย เข้าไปถึง ก็มีการแลกเปลี่ยนความรู้ มอบหมายงานตามประสบการณ์กัน ทำให้การ "เปิดทาง-วางเส้นนำทาง" เข้าไปในถ้ำ เป็นส่วนของนักดำน้ำภาคเอกชนที่มีความชำนาญเฉพาะ ส่วน Seal ทำหน้าที่ในส่วนส่งกำลัง
5. อุปกรณ์ที่แตกต่าง การดำน้ำในถ้ำ ต้องเตรียมอากาศไปมากกว่าปกติ ซึ่งอุปกรณ์ปกติที่ Seal ไทยใช้ สามารถนำถังติดตัวได้ถังเดียวต่อคน ในขณะที่อุปกรณ์ของภาคเอกชน นำติดตัวไปได้มากกว่า 1 ถัง อาจจะสูงสุดได้ถึง 5 ถังต่อคน ด้วยซ้ำ และแต่ละถัง ก็จะมีตัวอุปกรณ์จ่ายอากาศสำหรับหายใจติดไว้ครบ (ตัวจ่ายอากาศนี่ถอดเปลี่ยนในน้ำไม่ได้ครับ)
6. ถ้าจะถามว่า จะต้องให้ Seal ไปเรียนดำน้ำในถ้ำหรือไม่ ความเห็นผมคือ ไม่จำเป็นต้องไปเรียนทั้งหมด เอาเฉพาะคนที่พร้อม คนที่เต็มใจ ซึ่ง ณ ตอนนี้ ควรจะต้องมีไว้บ้าง และก็ควรจะต้องมีนักดำน้ำจากหน่วยงานอื่นไปเรียนด้วย เช่น กรมเจ้าท่า กรมป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน เพื่อให้มีกำลังพลที่มีความสามารถในการกู้ภัยเฉพาะทางพวกนี้ไว้ เพื่อการปฏิบัติงานในเบื้องต้น ก่อนที่จะระดมกำลังเสริมจากส่วนอื่นๆ เข้ามา
สรุป
ความเห็นส่วนตัว ไทยเราควรจัดตั้งหน่วยงานเฉพาะด้านการกู้ภัยขึ้นมา เพื่อให้เกิดกำลังพลที่พร้อมปฏิบัติงาน มีความรู้ตรง สามารถเป็นกองหน้าในการกู้ภัยต่างๆ ได้ แยกออกจากภารกิจของทหาร ไม่เช่นนั้นเราก็อาจจะยังเห็นเรื่อง "ผิดฝาผิดตัว" แบบนี้ต่อไป
1. เราใช้หน่วย Seal เข้าปฏิบัติงานในช่วงแรก เพราะเป็น As good as you can get คือ ดีที่สุดเท่าที่จะหาได้ ณ เวลานั้น เนื่องจากหน่วยราชการไทย (เฉพาะหน่วยงานราชการนะ) ไม่ได้มีหน่วยงานที่มีความรู้ด้านงานใต้น้ำมากนัก ทหารเรือ เป็นหน่วยราชการที่มีจำนวนนักดำน้ำมากที่สุด อุปกรณ์พร้อมที่สุด และหน่วย Seal คือหน่วยที่มีกำลังพลที่มีความชำนาญในงานใต้น้ำสูงสุด ที่มีอยู่ในไทย ณ เวลาที่เริ่มต้นปฏิบัติการ
2. อย่างไรก็ตาม งานปกติของหน่วยซีล เป็นงานในทะเลเปิด หรือน่านน้ำเปิด ไม่ใช่ในสภาพ Overhead Environment (สภาพสิ่งแวดล้อมที่มีสิ่งกีดขวางไม่ให้ขึ้นไปผิวน้ำได้) แบบในถ้ำ แม้แต่การดำน้ำเพื่อสันทนาการนั้น มีหลักสูตรการดำน้ำเพื่อดูเรือจม (Wreck Diving) แต่ก็จะยังไม่มีเนื้อหาในส่วนของการเข้าพื้นที่ Overhead Environment แต่จะเป็นการดูจากภายนอก หรือเข้าไปในระยะสั้นๆ ถ้าจะมุดลอดเข้าข้างในตัวเรือ จะต้องเป็นหลักสูตรพิเศษ Wreck Penetration อีกชั้นหนึ่ง ซึ่งต้องมีการเตรียมตัว เรื่องอุปกรณ์ และทักษะต่างๆ เกือบเท่ากับการดำน้ำในถ้ำ
3. นักดำน้ำในถ้ำ ในเมืองไทย มีครับ มีทั้งคนไทย และคนต่างชาติ แต่มีอยู่ไม่มาก กระจายกันอยู่ จำนวนเท่าที่ผมรู้นี่ไม่น่าเกิน 50 คน เท่าที่ทราบไม่มีใครอยู่หน่วยงานราชการ ดังนั้นโดยการบริหารจัดการของภาคราชการไทย ไม่สามารถเรียกคนกลุ่มนี้เข้ามาได้ เว้นแต่เขาจะเข้ามาเสนอตัว ซึ่งเขาก็เข้าไปกันนะ ส่วนหนึ่งไปพร้อมกับทีมของคุณ นรินทร ณ บางช้าง ซึ่งจากกลุ่มแรกที่ไปพร้อมกับคุณนรินทรฯ ก็ได้เรียกตัวคนอื่นๆ ตามมาสมทบกันในภายหลัง
4. จากข้อ 2 และ 3 นำไปสู่ความแตกต่างของความรู้ ทักษะ การวางแผน และกำลังพล Seal ไทย ก็ทำงานตามขีดความสามารถของตัวเอง เท่าที่อุปกรณ์และความรู้ของตัวเองมี ต่อมา เมื่อทีมนักดำน้ำถ้ำภาคเอกชน ทั้งที่บินมาจากอังกฤษ และจากหลายๆ ที่ในไทย เข้าไปถึง ก็มีการแลกเปลี่ยนความรู้ มอบหมายงานตามประสบการณ์กัน ทำให้การ "เปิดทาง-วางเส้นนำทาง" เข้าไปในถ้ำ เป็นส่วนของนักดำน้ำภาคเอกชนที่มีความชำนาญเฉพาะ ส่วน Seal ทำหน้าที่ในส่วนส่งกำลัง
5. อุปกรณ์ที่แตกต่าง การดำน้ำในถ้ำ ต้องเตรียมอากาศไปมากกว่าปกติ ซึ่งอุปกรณ์ปกติที่ Seal ไทยใช้ สามารถนำถังติดตัวได้ถังเดียวต่อคน ในขณะที่อุปกรณ์ของภาคเอกชน นำติดตัวไปได้มากกว่า 1 ถัง อาจจะสูงสุดได้ถึง 5 ถังต่อคน ด้วยซ้ำ และแต่ละถัง ก็จะมีตัวอุปกรณ์จ่ายอากาศสำหรับหายใจติดไว้ครบ (ตัวจ่ายอากาศนี่ถอดเปลี่ยนในน้ำไม่ได้ครับ)
6. ถ้าจะถามว่า จะต้องให้ Seal ไปเรียนดำน้ำในถ้ำหรือไม่ ความเห็นผมคือ ไม่จำเป็นต้องไปเรียนทั้งหมด เอาเฉพาะคนที่พร้อม คนที่เต็มใจ ซึ่ง ณ ตอนนี้ ควรจะต้องมีไว้บ้าง และก็ควรจะต้องมีนักดำน้ำจากหน่วยงานอื่นไปเรียนด้วย เช่น กรมเจ้าท่า กรมป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน เพื่อให้มีกำลังพลที่มีความสามารถในการกู้ภัยเฉพาะทางพวกนี้ไว้ เพื่อการปฏิบัติงานในเบื้องต้น ก่อนที่จะระดมกำลังเสริมจากส่วนอื่นๆ เข้ามา
สรุป
ความเห็นส่วนตัว ไทยเราควรจัดตั้งหน่วยงานเฉพาะด้านการกู้ภัยขึ้นมา เพื่อให้เกิดกำลังพลที่พร้อมปฏิบัติงาน มีความรู้ตรง สามารถเป็นกองหน้าในการกู้ภัยต่างๆ ได้ แยกออกจากภารกิจของทหาร ไม่เช่นนั้นเราก็อาจจะยังเห็นเรื่อง "ผิดฝาผิดตัว" แบบนี้ต่อไป
ความคิดเห็นที่ 53
แถลงการณ์ จาก สภาการดำนำ้กู้ภัยในถ้ำแห่งประเทศอังกฤษ
สมาชิกสภาการดำนำ้กู้ภัยในถ้ำแห่งประเทศอังกฤษ ผู้ได้ร่วมสนับสนุนปฏิบัติการกู้ภัย ณ ถ้ำหลวง ได้กล่าวยกย่องในความกล้าหาญ ในการปฏิบัติกู้ภัยของ ไทยเนวี่ซีล และความสามารถในการปฏิบัติการโดยปราศจากอุปกรณ์พิเศษ ปราศจากความรู้เฉพาะทาง และประสบการณ์เฉพาะทาง
เจ้าหน้าที่ที่ร่วมในการกู้ภัยทุกคนรู้ถึงความสำคัญในการรักษากฏความปลอดภัยในการปฏิบัติงานในภาวะคับขัน และ นักดำน้ำทุกคนตระหนักซึ้งถึงความสำคัญนั้นเช่นกัน แต่มันชัดเจนว่า ซีล จำเป็นจะต้องทำทุกอย่างเท่าที่ทำได้ ด้วยความสามารถ ประสบการณ์ และอุปกรณ์ทุกอย่างเท่าที่มี เพื่อรักษาชีวิตเด็กๆเหล่านั้น
ถ้าจะกล่าวว่าพวกเขาทำงาน"อย่างอันตราย" ตามที่นักดำถ้ำหลายๆคนกล่าว ก็ไม่ถูกนัก แต่จะต้องกล่าวว่า พวกเขา"มุ่งมั่นเผชิญภารกิจอันตราย" แม้ว่าอุปกรณ์และประสบการณ์จะไม่พร้อมก็ตาม และในความเห็นของผม มันไม่มีสิ่งใดจะมาวัดความกล้าหาญนี้ได้เลย
พวกเราทุกคนรู้สึกเศร้าเสียใจอย่างยิ่ง เมื่อได้ทราบข่าวการสูญเสียหนึ่งในซีลไป และถึงแม้ว่าพวกเราจะได้นำเด็กๆออกมาแล้ว แต่ทุกคนก็ยังไม่สามารถเบาใจ และฉลองภารกิจได้ จนเราได้แน่ใจว่าซีลทั้ง 4 คนที่ไปอยู่โถง 9 กับเด็กๆ ได้กลับมาอย่างปลอดภัยแล้ว ผมหวังว่าคนไทยจะมอบรางวัลที่ทรงเกียรติเพียงพอสำหรับซีลเหล่านั้น
ในมุมมองของผม ซีล ช่างกล้าหาญอย่างที่สุด และเป็นนักดำน้ำที่มีความสามารถอย่างยิ่ง พวกเขาไม่คุ้นเคยกับการปฏิบัติการในถ้ำ แต่มันเป็นการทดสอบความสามารถเฉพาะตัว และเป็นการทดสอบความสามารถในการปรับรูปแบบปฏิบัติการให้บรรลุภารกิจ แม้ว่าจะไม่คุ้นเคยกับสภาพแวดล้อมก็ตาม และสำหรับผม มันยังเป็นสิ่งยิ่งใหญ่ที่ได้เฝ้ามองและเรียนรู้จากการปฏิบัติภารกิจของพวกเขา "ภารกิจการดำน้ำในถ้ำที่น่ายกย่องอย่างยิ่ง"
Cr. ร.อ.บูรศักดิ์ บ.
จากเพจ thai NavySeal 17.7.2561
ความกล้าหาญของทุกๆ ฝ่ายที่เกี่ยวข้องทำให้เราได้ภาพนี้ในวันนี้
สมาชิกสภาการดำนำ้กู้ภัยในถ้ำแห่งประเทศอังกฤษ ผู้ได้ร่วมสนับสนุนปฏิบัติการกู้ภัย ณ ถ้ำหลวง ได้กล่าวยกย่องในความกล้าหาญ ในการปฏิบัติกู้ภัยของ ไทยเนวี่ซีล และความสามารถในการปฏิบัติการโดยปราศจากอุปกรณ์พิเศษ ปราศจากความรู้เฉพาะทาง และประสบการณ์เฉพาะทาง
เจ้าหน้าที่ที่ร่วมในการกู้ภัยทุกคนรู้ถึงความสำคัญในการรักษากฏความปลอดภัยในการปฏิบัติงานในภาวะคับขัน และ นักดำน้ำทุกคนตระหนักซึ้งถึงความสำคัญนั้นเช่นกัน แต่มันชัดเจนว่า ซีล จำเป็นจะต้องทำทุกอย่างเท่าที่ทำได้ ด้วยความสามารถ ประสบการณ์ และอุปกรณ์ทุกอย่างเท่าที่มี เพื่อรักษาชีวิตเด็กๆเหล่านั้น
ถ้าจะกล่าวว่าพวกเขาทำงาน"อย่างอันตราย" ตามที่นักดำถ้ำหลายๆคนกล่าว ก็ไม่ถูกนัก แต่จะต้องกล่าวว่า พวกเขา"มุ่งมั่นเผชิญภารกิจอันตราย" แม้ว่าอุปกรณ์และประสบการณ์จะไม่พร้อมก็ตาม และในความเห็นของผม มันไม่มีสิ่งใดจะมาวัดความกล้าหาญนี้ได้เลย
พวกเราทุกคนรู้สึกเศร้าเสียใจอย่างยิ่ง เมื่อได้ทราบข่าวการสูญเสียหนึ่งในซีลไป และถึงแม้ว่าพวกเราจะได้นำเด็กๆออกมาแล้ว แต่ทุกคนก็ยังไม่สามารถเบาใจ และฉลองภารกิจได้ จนเราได้แน่ใจว่าซีลทั้ง 4 คนที่ไปอยู่โถง 9 กับเด็กๆ ได้กลับมาอย่างปลอดภัยแล้ว ผมหวังว่าคนไทยจะมอบรางวัลที่ทรงเกียรติเพียงพอสำหรับซีลเหล่านั้น
ในมุมมองของผม ซีล ช่างกล้าหาญอย่างที่สุด และเป็นนักดำน้ำที่มีความสามารถอย่างยิ่ง พวกเขาไม่คุ้นเคยกับการปฏิบัติการในถ้ำ แต่มันเป็นการทดสอบความสามารถเฉพาะตัว และเป็นการทดสอบความสามารถในการปรับรูปแบบปฏิบัติการให้บรรลุภารกิจ แม้ว่าจะไม่คุ้นเคยกับสภาพแวดล้อมก็ตาม และสำหรับผม มันยังเป็นสิ่งยิ่งใหญ่ที่ได้เฝ้ามองและเรียนรู้จากการปฏิบัติภารกิจของพวกเขา "ภารกิจการดำน้ำในถ้ำที่น่ายกย่องอย่างยิ่ง"
Cr. ร.อ.บูรศักดิ์ บ.
จากเพจ thai NavySeal 17.7.2561
ความกล้าหาญของทุกๆ ฝ่ายที่เกี่ยวข้องทำให้เราได้ภาพนี้ในวันนี้
ความคิดเห็นที่ 26
ดีใจมากๆ ที่ไม่มีคนบางประเภทเข้าไปอยู่ในเหตุการณ์ภัยพิบัติครั้งนี้
ไม่งั้นวันนี้เด็กๆ ก็ยังไม่ออกมาแน่นอน
อันไหนพูดไม่รู้เรื่อง ตัดออกไป เพราะงานเร่งรัดมาก จะมาวางแผนอะไรซับซ้อน
นักวิชาการทั้งหลายก็ไม่ได้อยู่ในแผนการช่วยเหลือครั้งนี้
การช่วยเหลือครั้งนี้ถือว่าประสบความสำเร็จมากๆ ครับ แม้ว่าเราต้องสูญเสีย 1 ชีวิตที่มีค่าก็ตาม
ป้ายเตือนสำหรับคนคุยไม่รู้เรื่องครับ หลักการไม่ได้ถูกเป๊ะ แต่เค้าใช้ความกล้าหาญ 100%
ไม่งั้นวันนี้เด็กๆ ก็ยังไม่ออกมาแน่นอน
อันไหนพูดไม่รู้เรื่อง ตัดออกไป เพราะงานเร่งรัดมาก จะมาวางแผนอะไรซับซ้อน
นักวิชาการทั้งหลายก็ไม่ได้อยู่ในแผนการช่วยเหลือครั้งนี้
การช่วยเหลือครั้งนี้ถือว่าประสบความสำเร็จมากๆ ครับ แม้ว่าเราต้องสูญเสีย 1 ชีวิตที่มีค่าก็ตาม
ป้ายเตือนสำหรับคนคุยไม่รู้เรื่องครับ หลักการไม่ได้ถูกเป๊ะ แต่เค้าใช้ความกล้าหาญ 100%
แสดงความคิดเห็น
ช่องโหว่ในงานกู้ภัยของหน่วยซีล ขาดประสบการณ์หรือเครื่องมือไม่พร้อมครับ
พวกเขายังกล่าวว่า พวกเขาแปลกใจที่หน่วยซีลของไทยใช้มาตรการความปลอดภัยที่ต่างจากนักดำน้ำต่างชาติอย่างสิ้นเชิง Jason Mallinson กล่าวว่าการดำน้ำในถ้ำ ทำให้พวกเขาออกจาก Comfort zone และนั่นทำให้มีความเป็นไปได้สูงที่จะเกิดอุบัติเหตุ พวกเขาไม่ได้ใช้วิธีการที่ถูกต้องและไม่มีอุปกรณ์ที้เหมาะสม เช่นในขณะที่นักดำน้ำในถ้ำจะมีอุปกรณ์สำรองและพกถังอากาศอย่างน้อยสองถัง ตัวปรับแรงดันสองตัว และไฟฉายสามอันเสมอ แต่พวกนักดำน้ำในถ้ำสังเกตุว่าหน่วยซีลมักจะใช้ถังอากาศและตัวปรับแรงดันแค่ตัวเดียว ซึ่งถ้าอุปกรณ์มีความผิดพลาด พวกเขาก็จะเจอปัญหา
และพวกเขารู้สึกตกใจเป็นอย่างมากที่พบว่า หน่วยซีลทั้ง 4 นายนั้นไม่มีอากาศเพียงพอสำหรับขากลับ เพราะพวกเขาทำตามคำสั่งว่าให้ดำน้ำมาอยู่กับเด็กๆ จนจบเท่านั้น แต่ในระหว่างทางพวกเขาใช้อากาศจนหมด ทำให้นักดำน้ำในถ้ำทั้งสี่คนคือ Jason Mallinson, Chris Jewell, Rick Stanton, และ John Volanthen ต้องนำถังอากาศมาให้กับซีลทั้งสี่นายในขณะที่ดำน้ำมารับเด็กๆ ด้วย
------
การที่ให้นักดำน้ำต่างชาติเป็นแนวหน้าเป็นการตัดสินใจที่ถูกต้องสินะครับ