ด้วยความร่วมมือระหว่าง สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) ร่วมกับ สำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (สำนักงาน กสทช.)
สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) ได้ส่งเจ้าหน้าที่ทำการตรวจสอบรายการและโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพที่มีเนื้อหาผิดกฎหมาย ทางสื่อโทรทัศน์ วิทยุ และเว็บไซต์ ร่วมกับสำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (สำนักงาน กสทช.) ระหว่างวันที่ 4 -11 พฤษภาคม 2561 ที่ศูนย์ตรวจสอบเนื้อหาวิทยุ โทรทัศน์ และสื่อสังคมออนไลน์ สำนักงาน กสทช. รวม 6 ครั้ง ได้ตรวจสอบพบโฆษณาที่เข้าข่ายผิดกฎหมายทางสถานีโทรทัศน์ 29 ช่องรายการ และทางสถานีวิทยุ 1 สถานี ได้แก่
ครั้งที่ 1 (4 พ.ค.61) จำนวน 4 ช่อง คือ 1. ช่องสปริงนิวส์ ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารโกตุ โคล่าคริสตัลเฮิร์บ 2. ช่อง 8 ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารถั่งเช่าสกัดผสมเห็ดหลินจือ พลัส ตรา ซีเนเจอร์ และผลิตภัณฑ์อาหารเอส.โอ.เอ็ม. ซีแมคซ์ กาแฟสำเร็จรูปชนิดผง 3. ช่องแอดทีวี (ทีวีดาวเทียม) ผลิตภัณฑ์ไบโอวัน และผลิตภัณฑ์ดับเบิ้ล แม็กซ์ และ4. ช่องมิกซ์ เมเจอร์ ชาแนล (ทีวีดาวเทียม) ผลิตภัณฑ์ดับเบิ้ล แม็กซ์
ครั้งที่ 2 (7 พ.ค.61) จำนวน 4 ช่อง คือ 1. ช่อง Mirror channel ผลิตภัณฑ์ลูทินาร์ 2. ช่อง JKN Dramax ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารคอร์ดี้ พลัส 3. ช่อง KM Channel ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารคอร์ดี้ พลัส และ 4. ช่อง Hit Station ผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง ST DBM Active serum
ครั้งที่ 3 (8 พ.ค.61) จำนวน 7 ช่อง คือ 1. ช่อง Fan TV ผลิตภัณฑ์อาหาร Lamucare 2. ช่อง ทีวีบ้านบ้าน ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารคอร์ดี้ พลัส 3. ช่อง ESAN TV ผลิตภัณฑ์หลินจือโกะ (Lingzhigo) 4. ช่อง สตาร์ ทีวี ผลิตภัณฑ์อาหารเอสที.เพอริส 5. ช่อง Movie Hit ชาเทวัญ 6. ช่อง 8 ผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง Magique gravitas treatment และ 7. ช่อง Bright TV ผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง Ricapil rapid
ครั้งที่ 4 (9 พ.ค.61) จำนวน 8 ช่อง และ 1 สถานีวิทยุ คือ 1. ช่อง ทริปเปิ้ลเอ ทีวี ผลิตภัณฑ์อาหาร น้ำชาปรุงสำเร็จรสวินิก้า ผสมน้ำผึ้ง และเห็ดหลินจือ ชนิดเข้มข้น ตรา มาดี คอมบูชา 2. ช่อง MIX MAJOR ผลิตภัณฑ์แอล-ซี พลัส 3. ช่อง Hit Station ผลิตภัณฑ์แอล-ซี พลัส 4. ช่อง Unity ผลิตภัณฑ์เคลียร์วิส (Kleavis) 5.ช่อง สตาร์ ทีวี ผลิตภัณฑ์ลูทินาร์ 6. ช่อง สปริงนิวส์ ผลิตภัณฑ์ไวตา-พลัส และผลิตภัณฑ์บำรุงผิวหน้า Nuvite Melasis Cream 7. ช่อง 8 ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารถั่งเช่าสกัดผสมเห็ดหลินจือ พลัส ตรา ซีเนเจอร์ 8. ช่อง ONE ผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง เคลลี่ รีจูเวเนติ้ง แอนด์ ลิฟท์ติ้ง เซรั่ม และ 9. สถานีวิทยุกระจายเสียง AM 873 MHz ชุดพรีเมี่ยม ประกอบด้วย ผลิตภัณฑ์คลอโรฟีน่า, พรมมิ แซนที และผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร ตราเบลล่า
ครั้งที่ 5 (10 พ.ค.61) จำนวน 8 ช่อง คือ 1. ช่อง Good living ผลิตภัณฑ์อาหารเคลียร์วิส 2. ช่อง INTV ผลิตภัณฑ์ลูทินาร์ 3. ช่อง TGN ผลิตภัณฑ์คอร์ดี้ พลัส 4. ช่อง Chic Station ผลิตภัณฑ์หลินจือมิน 5. ช่อง Hit Station ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร แอล-ซี พลัส 6. ช่อง MIX MAJOR ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร เอสที.เพอริส 7. ช่อง NOW ผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง HYA Serum และ 8. ช่อง Nation TV ผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง HYA Serum
ส่วนครั้งที่ 6 (11 พ.ค.61) อยู่ระหว่างการพิจารณาระงับสื่อโฆษณา จำนวน 8 ช่อง รวม 9 เรื่อง และในวันนี้ (15 พ.ค.61) ได้ระงับผลิตภัณฑ์เสริมอาหารลีน ทางเว็บไซต์จำนวน 10 URL
หากผู้บริโภคพบเห็นการโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพผิดกฎหมาย สามารถร้องเรียนหรือแจ้งเบาะแสได้ที่ สายด่วน อย. 1556, อีเมล์ 1556@fda.moph.go.th, ร้องเรียน ผ่าน Oryor Smart Application หรือเดินทางมาร้องเรียนด้วยตนเองที่ศูนย์ ศรป. อย. หรือสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดทั่วประเทศ หรือสายด่วน กสทช. 1200
ที่มา
https://www.posttoday.com/market/news/551351
เพิ่มเติม 28 พ.ค. 2561
สำหรับช่องทีวีดิจิตอลที่พบสัปดาห์ก่อนมีทั้งหมด 3 ช่อง ที่ออกอากาศโฆษณาอาหารและเครื่องสำอางที่ผิดกฎหมาย ได้แก่ 1. ช่องสปริงนิวส์ ผลิตภัณฑ์อัลฟ่า คอลโรฟิลล์ พลัส 2. ช่อง NOW ผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางชาริส และ 3. ช่องเนชั่นทีวี ผลิตภัณฑ์ LOLITA
ส่วนช่องโทรทัศน์ดาวเทียม/เคเบิลทีวี ที่เพิ่มใหม่มีจำนวน 7 ช่อง ได้แก่ 1. ช่อง T Variety 2. ช่อง 4050 Channel 3. ช่อง Hit Variety 4. ช่อง People TV 5. ช่อง Lao Star 6. ช่อง DOONEE Series และ 7. ช่อง Cool Channel รวมผลิตภัณฑ์ที่พบใหม่ 10 ผลิตภัณฑ์ คือ สบู่สมุนไพร จาเป่า, ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร เมก้าไวท์, เครื่องสำอาง มิราเคิลไวท์, ผลิตภัณฑ์ Kriss, ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารน้ำมันมะพร้าวชนิดแคปซูล ออร์กรีน, ผลิตภัณฑ์อาหารน้ำมันงาดำสกัดเย็น ตรา นิโกะ, ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร ตรานพเก้า, ผลิตภัณฑ์อาหาร เมก้า-ไวท์, ผลิตภัณฑ์ Delsy Super Solution Serum และผลิตภัณฑ์เสริมอาหารโพชง ซึ่งจากการตรวจพบผลิตภัณฑ์ในสัปดาห์นี้จะเป็นกลุ่มเครื่องสำอางที่เพิ่มขึ้นโดยเป็นการโฆษณาที่ทำให้เข้าใจผิดในสาระสำคัญเกี่ยวกับเครื่องสำอาง ฝ่าฝืนมาตรา 41 วรรค 2 พ.ร.บ.เครื่องสำอาง พ.ศ.2558
ขณะที่เว็บไซต์พบโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพที่มีเนื้อหาผิดกฎหมายเพิ่มอีก 50 URL ส่วนใหญ่เป็นผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร กระตุ้นและยกระดับภูมิคุ้มกัน ลดระดับน้ำตาลในเลือด รักษาโรคต่าง ๆ ผลิตภัณฑ์ทำให้ผิวขาว ปรับสมดุลผิว
ลดความหมองคล้ำ และผลิตภัณฑ์เสริมสมรรถภาพทางเพศ
ที่มา
https://efinancethai.com/LastestNews/LatestNewsMain.aspx?ref=A&id=NDNZQmVldkRYY0k9
วิธีสังเกตคำ โฆษณาเกินจริง ของอาหาร ยา เครื่องสำอาง ที่ปรากฏทางทีวี
โฆษณาเกินจริง บนสื่อโทรทัศน์ ที่เป็นประเด็นร้อนในช่วงหลายสัปดาห์ที่ผ่านมา ทาง กสทช. โดยสำนักคุ้มครองผู้บริโภคในกิจการกระจายเสียงและโทรทัศน์ ได้จัดทำ Infographic ในเรื่อง รู้เท่าทันโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพเกินจริง ระวังคำโฆษณาเกินจริง เพื่อความปลอดภัยต่อชีวิตของคุณเอง
โดยการตรวจสอบโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพต้องดูที่ “เลขที่อนุญาตโฆษณา” ซึ่งแบ่งตามประเภทผลิตภัณฑ์แต่ละอย่าง
1. อาหาร
ต้องสังเกต ฆอ. …/…. โดยการโฆษณาคุณประโยชน์คุณภาพ หรือสรรพคุณ ต้องขออนุญาตโฆษณา
2. ยา
ต้องสังเกต ฆท. …./…. โดยต้องมีเลขที่อนุญาตโฆษณาด้วย
3. เครื่องสำอาง
ไม่ต้องขออนุญาตโฆษณา โฆษณาได้แต่ต้องไม่ให้เกิดความเข้าใจผิดในสารสำคัญของเครื่องสำอาง
ข้อสังเกตว่าเป็น โฆษณาเกินจริง
โฆษณาอาหาร ต้องไม่แสดงสรรพคุณเรื่องการรักษาโรค และ สรรพคุณทางเวชสำอาง เช่น ทำให้ผิวขาวขึ้น ลดความอ้วน ลดไขมันส่วนเกิน หรือ รักษาโรคได้ครอบจักรวาลอกฟูรูฟิต ระงับกลิ่น หน้าอกเต่งตึง
โฆษณายา ต้องไม่แสดงสรรพคุณอันเป็นเท็จ หรือเกินจริง เช่น บำบัดรักษาโรคให้หายขาด รักษาโรคเรื้องรังร้านแรงได้ เช่นมะเร็ง โรคหัวใจ เสริมสมรรถภาพทางเพศ
โฆษณาเครื่องสำอาง ต้องไม่แสดงสรรพคุณเกินจริง เช่นผิวขาวภายใน 7 วัน หน้าเรียวเด้งภายใน 1 นาที ลดสิวภายใน 3 วัน ใช้แล้วเสริมอำนาจ บารมี เงินทอง เรียกเสน่ห์ พูดอะไรก็เชื่อ
ทั้งนี้ โฆษณาเกินจริง และเป็นเท็จ โอ้อวดเกินจริง ถือว่าเอาเปรียบผู้บริโภค
หากพบโฆษณาเข้าข่าย โอ้อวดเกินจริง ผ่านสื่อวิทยุและโทรทัศน์
สามารถแจ้งเรื่องร้องเรียนมาได้ที่ สายด่วน อย. 1556 หรือ สายด่วน กสทช. Call Center 1200 (โทรฟรี)#หยุดโฆษณาเกินจริง #ผู้บริโภคสื่อ #วิทยุ #โทรทัศน์
รวมรายชื่อ โฆษณาอาหารเสริมและเครื่องสำอาง ที่เข้าข่ายผิดกฎหมายทางสถานีโทรทัศน์ และทางสถานีวิทยุ 2561
ด้วยความร่วมมือระหว่าง สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) ร่วมกับ สำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (สำนักงาน กสทช.)
สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) ได้ส่งเจ้าหน้าที่ทำการตรวจสอบรายการและโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพที่มีเนื้อหาผิดกฎหมาย ทางสื่อโทรทัศน์ วิทยุ และเว็บไซต์ ร่วมกับสำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (สำนักงาน กสทช.) ระหว่างวันที่ 4 -11 พฤษภาคม 2561 ที่ศูนย์ตรวจสอบเนื้อหาวิทยุ โทรทัศน์ และสื่อสังคมออนไลน์ สำนักงาน กสทช. รวม 6 ครั้ง ได้ตรวจสอบพบโฆษณาที่เข้าข่ายผิดกฎหมายทางสถานีโทรทัศน์ 29 ช่องรายการ และทางสถานีวิทยุ 1 สถานี ได้แก่
ครั้งที่ 1 (4 พ.ค.61) จำนวน 4 ช่อง คือ 1. ช่องสปริงนิวส์ ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารโกตุ โคล่าคริสตัลเฮิร์บ 2. ช่อง 8 ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารถั่งเช่าสกัดผสมเห็ดหลินจือ พลัส ตรา ซีเนเจอร์ และผลิตภัณฑ์อาหารเอส.โอ.เอ็ม. ซีแมคซ์ กาแฟสำเร็จรูปชนิดผง 3. ช่องแอดทีวี (ทีวีดาวเทียม) ผลิตภัณฑ์ไบโอวัน และผลิตภัณฑ์ดับเบิ้ล แม็กซ์ และ4. ช่องมิกซ์ เมเจอร์ ชาแนล (ทีวีดาวเทียม) ผลิตภัณฑ์ดับเบิ้ล แม็กซ์
ครั้งที่ 2 (7 พ.ค.61) จำนวน 4 ช่อง คือ 1. ช่อง Mirror channel ผลิตภัณฑ์ลูทินาร์ 2. ช่อง JKN Dramax ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารคอร์ดี้ พลัส 3. ช่อง KM Channel ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารคอร์ดี้ พลัส และ 4. ช่อง Hit Station ผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง ST DBM Active serum
ครั้งที่ 3 (8 พ.ค.61) จำนวน 7 ช่อง คือ 1. ช่อง Fan TV ผลิตภัณฑ์อาหาร Lamucare 2. ช่อง ทีวีบ้านบ้าน ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารคอร์ดี้ พลัส 3. ช่อง ESAN TV ผลิตภัณฑ์หลินจือโกะ (Lingzhigo) 4. ช่อง สตาร์ ทีวี ผลิตภัณฑ์อาหารเอสที.เพอริส 5. ช่อง Movie Hit ชาเทวัญ 6. ช่อง 8 ผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง Magique gravitas treatment และ 7. ช่อง Bright TV ผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง Ricapil rapid
ครั้งที่ 4 (9 พ.ค.61) จำนวน 8 ช่อง และ 1 สถานีวิทยุ คือ 1. ช่อง ทริปเปิ้ลเอ ทีวี ผลิตภัณฑ์อาหาร น้ำชาปรุงสำเร็จรสวินิก้า ผสมน้ำผึ้ง และเห็ดหลินจือ ชนิดเข้มข้น ตรา มาดี คอมบูชา 2. ช่อง MIX MAJOR ผลิตภัณฑ์แอล-ซี พลัส 3. ช่อง Hit Station ผลิตภัณฑ์แอล-ซี พลัส 4. ช่อง Unity ผลิตภัณฑ์เคลียร์วิส (Kleavis) 5.ช่อง สตาร์ ทีวี ผลิตภัณฑ์ลูทินาร์ 6. ช่อง สปริงนิวส์ ผลิตภัณฑ์ไวตา-พลัส และผลิตภัณฑ์บำรุงผิวหน้า Nuvite Melasis Cream 7. ช่อง 8 ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารถั่งเช่าสกัดผสมเห็ดหลินจือ พลัส ตรา ซีเนเจอร์ 8. ช่อง ONE ผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง เคลลี่ รีจูเวเนติ้ง แอนด์ ลิฟท์ติ้ง เซรั่ม และ 9. สถานีวิทยุกระจายเสียง AM 873 MHz ชุดพรีเมี่ยม ประกอบด้วย ผลิตภัณฑ์คลอโรฟีน่า, พรมมิ แซนที และผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร ตราเบลล่า
ครั้งที่ 5 (10 พ.ค.61) จำนวน 8 ช่อง คือ 1. ช่อง Good living ผลิตภัณฑ์อาหารเคลียร์วิส 2. ช่อง INTV ผลิตภัณฑ์ลูทินาร์ 3. ช่อง TGN ผลิตภัณฑ์คอร์ดี้ พลัส 4. ช่อง Chic Station ผลิตภัณฑ์หลินจือมิน 5. ช่อง Hit Station ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร แอล-ซี พลัส 6. ช่อง MIX MAJOR ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร เอสที.เพอริส 7. ช่อง NOW ผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง HYA Serum และ 8. ช่อง Nation TV ผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง HYA Serum
ส่วนครั้งที่ 6 (11 พ.ค.61) อยู่ระหว่างการพิจารณาระงับสื่อโฆษณา จำนวน 8 ช่อง รวม 9 เรื่อง และในวันนี้ (15 พ.ค.61) ได้ระงับผลิตภัณฑ์เสริมอาหารลีน ทางเว็บไซต์จำนวน 10 URL
หากผู้บริโภคพบเห็นการโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพผิดกฎหมาย สามารถร้องเรียนหรือแจ้งเบาะแสได้ที่ สายด่วน อย. 1556, อีเมล์ 1556@fda.moph.go.th, ร้องเรียน ผ่าน Oryor Smart Application หรือเดินทางมาร้องเรียนด้วยตนเองที่ศูนย์ ศรป. อย. หรือสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดทั่วประเทศ หรือสายด่วน กสทช. 1200
ที่มา https://www.posttoday.com/market/news/551351
เพิ่มเติม 28 พ.ค. 2561
สำหรับช่องทีวีดิจิตอลที่พบสัปดาห์ก่อนมีทั้งหมด 3 ช่อง ที่ออกอากาศโฆษณาอาหารและเครื่องสำอางที่ผิดกฎหมาย ได้แก่ 1. ช่องสปริงนิวส์ ผลิตภัณฑ์อัลฟ่า คอลโรฟิลล์ พลัส 2. ช่อง NOW ผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางชาริส และ 3. ช่องเนชั่นทีวี ผลิตภัณฑ์ LOLITA
ส่วนช่องโทรทัศน์ดาวเทียม/เคเบิลทีวี ที่เพิ่มใหม่มีจำนวน 7 ช่อง ได้แก่ 1. ช่อง T Variety 2. ช่อง 4050 Channel 3. ช่อง Hit Variety 4. ช่อง People TV 5. ช่อง Lao Star 6. ช่อง DOONEE Series และ 7. ช่อง Cool Channel รวมผลิตภัณฑ์ที่พบใหม่ 10 ผลิตภัณฑ์ คือ สบู่สมุนไพร จาเป่า, ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร เมก้าไวท์, เครื่องสำอาง มิราเคิลไวท์, ผลิตภัณฑ์ Kriss, ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารน้ำมันมะพร้าวชนิดแคปซูล ออร์กรีน, ผลิตภัณฑ์อาหารน้ำมันงาดำสกัดเย็น ตรา นิโกะ, ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร ตรานพเก้า, ผลิตภัณฑ์อาหาร เมก้า-ไวท์, ผลิตภัณฑ์ Delsy Super Solution Serum และผลิตภัณฑ์เสริมอาหารโพชง ซึ่งจากการตรวจพบผลิตภัณฑ์ในสัปดาห์นี้จะเป็นกลุ่มเครื่องสำอางที่เพิ่มขึ้นโดยเป็นการโฆษณาที่ทำให้เข้าใจผิดในสาระสำคัญเกี่ยวกับเครื่องสำอาง ฝ่าฝืนมาตรา 41 วรรค 2 พ.ร.บ.เครื่องสำอาง พ.ศ.2558
ขณะที่เว็บไซต์พบโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพที่มีเนื้อหาผิดกฎหมายเพิ่มอีก 50 URL ส่วนใหญ่เป็นผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร กระตุ้นและยกระดับภูมิคุ้มกัน ลดระดับน้ำตาลในเลือด รักษาโรคต่าง ๆ ผลิตภัณฑ์ทำให้ผิวขาว ปรับสมดุลผิว
ลดความหมองคล้ำ และผลิตภัณฑ์เสริมสมรรถภาพทางเพศ
ที่มา https://efinancethai.com/LastestNews/LatestNewsMain.aspx?ref=A&id=NDNZQmVldkRYY0k9
วิธีสังเกตคำ โฆษณาเกินจริง ของอาหาร ยา เครื่องสำอาง ที่ปรากฏทางทีวี
โฆษณาเกินจริง บนสื่อโทรทัศน์ ที่เป็นประเด็นร้อนในช่วงหลายสัปดาห์ที่ผ่านมา ทาง กสทช. โดยสำนักคุ้มครองผู้บริโภคในกิจการกระจายเสียงและโทรทัศน์ ได้จัดทำ Infographic ในเรื่อง รู้เท่าทันโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพเกินจริง ระวังคำโฆษณาเกินจริง เพื่อความปลอดภัยต่อชีวิตของคุณเอง
โดยการตรวจสอบโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพต้องดูที่ “เลขที่อนุญาตโฆษณา” ซึ่งแบ่งตามประเภทผลิตภัณฑ์แต่ละอย่าง
1. อาหาร
ต้องสังเกต ฆอ. …/…. โดยการโฆษณาคุณประโยชน์คุณภาพ หรือสรรพคุณ ต้องขออนุญาตโฆษณา
2. ยา
ต้องสังเกต ฆท. …./…. โดยต้องมีเลขที่อนุญาตโฆษณาด้วย
3. เครื่องสำอาง
ไม่ต้องขออนุญาตโฆษณา โฆษณาได้แต่ต้องไม่ให้เกิดความเข้าใจผิดในสารสำคัญของเครื่องสำอาง
ข้อสังเกตว่าเป็น โฆษณาเกินจริง
โฆษณาอาหาร ต้องไม่แสดงสรรพคุณเรื่องการรักษาโรค และ สรรพคุณทางเวชสำอาง เช่น ทำให้ผิวขาวขึ้น ลดความอ้วน ลดไขมันส่วนเกิน หรือ รักษาโรคได้ครอบจักรวาลอกฟูรูฟิต ระงับกลิ่น หน้าอกเต่งตึง
โฆษณายา ต้องไม่แสดงสรรพคุณอันเป็นเท็จ หรือเกินจริง เช่น บำบัดรักษาโรคให้หายขาด รักษาโรคเรื้องรังร้านแรงได้ เช่นมะเร็ง โรคหัวใจ เสริมสมรรถภาพทางเพศ
โฆษณาเครื่องสำอาง ต้องไม่แสดงสรรพคุณเกินจริง เช่นผิวขาวภายใน 7 วัน หน้าเรียวเด้งภายใน 1 นาที ลดสิวภายใน 3 วัน ใช้แล้วเสริมอำนาจ บารมี เงินทอง เรียกเสน่ห์ พูดอะไรก็เชื่อ
ทั้งนี้ โฆษณาเกินจริง และเป็นเท็จ โอ้อวดเกินจริง ถือว่าเอาเปรียบผู้บริโภค
หากพบโฆษณาเข้าข่าย โอ้อวดเกินจริง ผ่านสื่อวิทยุและโทรทัศน์
สามารถแจ้งเรื่องร้องเรียนมาได้ที่ สายด่วน อย. 1556 หรือ สายด่วน กสทช. Call Center 1200 (โทรฟรี)#หยุดโฆษณาเกินจริง #ผู้บริโภคสื่อ #วิทยุ #โทรทัศน์