เช้านี้มีบทความลงใน
นิวส์วีค น่าสนใจมาก ฟ้าผ่าอันตรายกว่าที่คิด
ตอนที่พายุเฮอร์ริเคนแพตตริเซียขึ้นฝั่งสหรัฐเมื่อปี 2015
เครื่องบินล่าพายุของทบวงสมุทรศาสตร์ของสหรัฐ (Hurricane Hunter WP‐3D Orion)บินผ่านตาพายุ
และเครื่องมือ Airborne Detector for Energetic Lightning Emissions (ADELE)
ได้ตรวจพบว่า พายุเฮอร์ริเคน ได้ปล่อยลำของปฏิสสารลงมายังพื้นโลกด้วย พร้อมๆ กับรังสีแกมม่า
ปฏิสสารที่ถูกปล่อยมาคือโปสิตรอน และพบทั้งหมด 184 ครั้ง
เหตุการณ์นี้น่าตื่นเต้น เพราะเป็นการพบว่ามีการปล่อยปฏิสสารและรังสีลงมาพื้นโลกเป็นครั้งแรก
และลงมาถึงตัวรับสัญญาณที่อยู่บนพื้นดินด้วย (จาก
abstract )
แต่การปล่อยรังสีดังกล่าวออกมาในอวกาศ มีการตรวจพบเป็นพันครั้งแล้ว เรียกว่า
terrestrial gamma-ray flash (TGF)
ที่กระทรวงสาธารณสุขมีหน่วยงานที่ติดตามปัญหาผลกระทบต่อสุขภาพจาก Ionizing Radiation
และจากโทรศัพท์มือถือและเสาโทรศัพท์ ซึ่งจัดเป็น Non Ionizing Radiation
ส่วนใหญ่ข้อร้องเรียนจาก NIR >IR
ต่อไปอาจต้องศึกษาเรื่องรังสีจากฟ้าผ่าด้วย
พายุเฮอร์ริเคนปล่อยกระแสปฏิสสารและรังสีแกมม่าลงสู่พื้นโลก
ตอนที่พายุเฮอร์ริเคนแพตตริเซียขึ้นฝั่งสหรัฐเมื่อปี 2015
เครื่องบินล่าพายุของทบวงสมุทรศาสตร์ของสหรัฐ (Hurricane Hunter WP‐3D Orion)บินผ่านตาพายุ
และเครื่องมือ Airborne Detector for Energetic Lightning Emissions (ADELE)
ได้ตรวจพบว่า พายุเฮอร์ริเคน ได้ปล่อยลำของปฏิสสารลงมายังพื้นโลกด้วย พร้อมๆ กับรังสีแกมม่า
ปฏิสสารที่ถูกปล่อยมาคือโปสิตรอน และพบทั้งหมด 184 ครั้ง
เหตุการณ์นี้น่าตื่นเต้น เพราะเป็นการพบว่ามีการปล่อยปฏิสสารและรังสีลงมาพื้นโลกเป็นครั้งแรก
และลงมาถึงตัวรับสัญญาณที่อยู่บนพื้นดินด้วย (จาก abstract )
แต่การปล่อยรังสีดังกล่าวออกมาในอวกาศ มีการตรวจพบเป็นพันครั้งแล้ว เรียกว่า
terrestrial gamma-ray flash (TGF)
ที่กระทรวงสาธารณสุขมีหน่วยงานที่ติดตามปัญหาผลกระทบต่อสุขภาพจาก Ionizing Radiation
และจากโทรศัพท์มือถือและเสาโทรศัพท์ ซึ่งจัดเป็น Non Ionizing Radiation
ส่วนใหญ่ข้อร้องเรียนจาก NIR >IR
ต่อไปอาจต้องศึกษาเรื่องรังสีจากฟ้าผ่าด้วย